Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 ลักษณะเเบบทดสอบที่ดี (1.ความตรงหรือความเที่ยงตรง (validity) (1…
บทที่ 5
ลักษณะเเบบทดสอบที่ดี
1.ความตรงหรือความเที่ยงตรง (validity)
1.2ความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์
วความตรงตามสภาพ
ความตรงเชิงพยากรณ์
1.1ความตรงเชิงเนื้อหา
วัดได้ตรงกับสิ่งที่ต้องการวัด
วัดได้คลอบคลุม
วัดได้ตามความเป็นจริง
1.3ความตรงตามทฤษฎี
ความตรงทางคุณลักษณะ
วัดคุณลักษณะทางด้านจิตใจ
เชาว์ปัญญา
3.ความยากง่าย(difficulty)
เน้นเคื่องมือที่เป้นเเบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์เเบบอิงกลุ่ม
ค่าความยากง่ายหาได้จากจำนวนคนที่ตอบถูกหาาด้วยจำนวนคนทั้งหมด
2.ความเที่ยงหรือความเชื่อมั่น(reliability)
ความสามารถของเครื่องมือในการวัดผลเเบบคงที่
เครื่องมือวัดมีความเที่ยงสูงวัดกี่ครั้งคะเเนนจะเท่าเดิม
ถ้าเคื่องมือวัดมีความเที่ยงต่ำผลการวัดอาจเปลี่ยนเเปลงไปจากเดิม
5.ความเป็นปรนัย(Objectivity)
เป้นความชัดเจนถูกต้องตามหลักวิชา
การใช้ภาาาเหมาะสมกับวัย
จำเป้นสำหรับเครื่องมือวัดผลทุกชนิด
6.ความมีประสิทธิภาพ(Efficiency)
ต้องถามให้ครอบคลุมเรื่องราว
ดำเนินการสอบสะดวก
ลงทุนน้อยได้ผลคุ้มค่า
4.อำนาจจำเเนกdiscrimination)
เครื่องมือในการจำเเนกบุคคลออกเป็นกลุ่มๆ
เช่นเเบบวัดเจตคต
8.ความลึก(Searching)
ควรถามให้ครอบคลุม
ไม่เน้นถามเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
วัดความสารถชั้นต่ำเพียงอย่างเดียว
9.คำถามยั่วยุ(Exemplary)
ไม่ซ้ำซาก
เรียงลำดับคำถามเเละคำตอบให้เหมาะสม
10.ความจำเพาะเจาะจง(Definite)
ผุ้ตอบข้อสอบต้องมีความรู้มาก่อน
คำถามไม่กว้างเกินไป
7.ความยุติธรรม(Fair)
ถามในเรื่องราวที่เรียนรู้มาเเล้ว
ถามในเรื่องดียวกัน
การตรวจสอบคุณภาพเเบบทดสอบ
1.การวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบรายข้อ
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบเป็นรายข้อ
เป็นข้อสอบปรนัย
2.การวิเคราะห์คุณภาพของเเบบทดสอบทั้งฉบับ
การตรวจสอบคุณภาพของเเบบทดสอบทั้งฉบับในประเด็นความตรง
การตรวจสอบคุณภาพของเเบบทดสอบทั้งฉบับในประเด็นความเที่ยง
การวิเคราห์คุณภาพรายข้อ
2.เเบบอิงเกณฑ์
อำนาจจำเเนก จำเเนกผู้เรียนออกเป็นกลุ่มที่ไม่มีความรู้ในเนื้อหานั้นๆ
หาดัชนีความไวของประสิทธิภาพการสอน
หาประสิทธิภาพในการจำเเนกระหว่างผู้รู้เเละผู้ไม่รู้
ความยากง่ายของข้อสอบ
1.เเบบทดสอบอิงกลุ่ม
ตรวจกระดาษคำตอบของนักเรียนเเละให้คะเเนนไว้
เรียงลำดับคะเเนนจากมากไปหาน้อย
เเบ่งกระดาษเป็นสองกลุ่ม
หาค่าความยากง่าย อำนาจจำเเนก ประสิทธิภาพตัวลวง
บับคะเเนนจากคะเเนนสูงสุดลงมา
นำกระดาษคำตอบกลุ่มสูงกลุ่มต่ำมาเเจกเเจงคำตอบเป็นรายข้อ
เตรียมตารางเเจกเเจงความถี่ของนักเรียนเเต่ละคน
การตรวจสอบคุณภาพทั้ง
1.การตรวจสอบความ
1.1การตรวจสอบความตรงเเบบอิงกลุ่ม
1.1.1คัดเลือกกลุ่มเชี่ยวชาญ
1.1.2ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความตรงเนื้อหา
1.1.3นำเเบบสอบถามความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญมาเจจกเเจงคำตอบ
1.2การตรวจสอบความตรงเเบบอิงเกณฑ์
พิจารณาความสอดคล้องของข้อคำถามกับจุดประสงค์
ตรวจสอบว่าวัดตรงกับจุดประสงค์เเละความสัมพันธ์ของเนื้อหาหรือไม่
ดูความเหมาะสมรูปเเบบข้อสอบ
1.3ปัจจัยที่มีผลต่อความตรงของเเบบทดสอบ
1.3.1ปัจจัยที่เกิดจากเเบบทดสอบเอง เช่นกระบวนการสร้าง
1.3.2ปัจจัยที่เกิดจากการดำเนินการสอบ เช่นการใช้เวลาไม่เหมาะสม
1.3.3ปัจจัยที่เกิดจากผู้เข้าสอบ เช่นการเดาข้อสอบ
1.3.4ปัจจัยที่เกิดจากตัวผู้สอน เช่นเนื้อหาที่สอนกับเนื้อหาข้อสอบไม่สัมพันธ์กัน
2.การตรวจสอบความเที่ยง
2.1การตรวจความเที่ยงเเบบอิงกลุ่ม
2.1.1วิธีการสอบซ้ำ
2.1.2ใช้เเบบทดสอบคู่ขนาน
2.1.3วิธีการวัดความคงที่ภายใน
2.2การตรวจสอบความเที่ยงของเเบบทดสอบอิงเกณฑ์
2.3หาความเที่ยงเเละปัจจัยที่มีผลต่อความเที่ยงของเเบบทด
2.3.1ค่าความเที่ยง
2.3.2ปัจจัยที่มีผลต่อความเที่ยงของเบบทดสอบ
2.3.2.1ความยาวของเเบบทดสอบ
2.3.2.2การกระจายของ
2.3.2.3ความยากของข้อสอบ
2.3.2.4ความเป็นเอกพันธ์ของข้อสอบ
2.3.2.5ความเป็นปรนัย
2.3.2.6อิทธิพลของการเดาคำตอบ