Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจกำเนิดชนิดเขียว (กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก (increased…
โรคหัวใจกำเนิดชนิดเขียว
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดน้อย (decreased pulmonary blood flow)
Pulmonic atresia (PA)
อาการและอาการแสดง
ผู้ปวยมักมีอาการเขียวให้เห็นตั้งแต่ในวัยทารกแรกเกิด อาการเขียวจะขึ้นอยู่กับขนาดของ PDAอาจเสียชีวิตได้ ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลืออย่างทัน ท่วงที
การวินิจฉัย
การซักประวัติ มีประวัติอาการเขียว หายใจหอบลึก
การตรวจร่างกาย อาจได้ยินเสียง continuous mumur ของ PDA ในบางรายที่มีลิ้นไตรดัสปิดรั่ว อาจได้ยิน systlic mumur และ มีภาวะตับโตร่วม
คลื่นไฟฟ้หัวใจ อาจพบเวนตริเคิลช้ายมีการหนาตัวขึ้นใน
ภาพรังสีทรวงอก พบว่ามีหลอดเลือดไปปอดลดลง ส่วนขนาดของหัวใจ อาจพบว่ามีหัวใจโตภายหลังได้
คลื่นเสียสะท้อนหัวใจความถี่สูง
การตรวจสวนหัวใจและการฉีดสารทึบรังสี
การรักษา
กรรักษได้มีพัฒนาการโดยการให้ยา prostaglandin E หยดเข้าหลอดเลือดดำมากขึ้น เพื่อป้อง กันไม่ให้ PDA ปิด ก่อนไปทำการฝ่าตัด
ในรายที่เป็น PA โดยไม่มี VSD และมีเวนตริเดิลขวา และหลอดเลือดแดงพัลโมนารีที่มีขนาดโตพอ อาจพิจารณาทำ pulmonay valvotomy เพื่อขยายทางออกของเวนตริเดิลขวา
Tricuspid atresia (TA)
อาการและอาการแสดง
มีอาการเขียวไม่มาก แต่จะมีภาวะหัวใจวาย ในรายที่มีภาวะหัวใจซีกขวาวาย อาจมีดับโตร่วมด้วย ในเด็กเล็กบางรายอาจมีหัวใจเต้นเร็ว และอาการหายใจลำบาก
การวินิจฉัย
การชักประวัติ มีประวัติอาการเขียว และอาจมีภาวะหัวใจวายร่วมด้วย
2 การตรวจร่างกาย ฟังเสียง S2 ได้ดังขึ้นและเป็นเสียงเดี่ยว และเสียง systlic murmerปริเวณขอบ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ พบว่ามีเวนตริเคิลซ้ยโต ในรายที่มี TGA ร่วมด้วย มักมีเวนตริเดิลขวาโตด้วย
ภาพรังสีทรวงอก ขนาดหัวใจมักจะโตเล็กน้อย หลอดเลือดในปอดลดลง
คลื่นเสียงละท้อนหัวใจความถี่สูง
6.การตรวสวนหัวใจและการฉีดสารทึบรีงสี
การรักษา
การรักษาโดยการให้ยา prostaglandin E หยดเข้าหลอดเลือดดำมากขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้ PDA ปิด ก่อนไปทำการผ่าตัด
การผ่าตัดเพื่อบรรเทาอาการ
การผ่าตัดเพื่อแก้ไขความผิดปกติ
Tetralogy of Fallt (TOF)
ความหมายผิดปกติภายในหัวใจ 4 อย่าง ดังนี้
มีการตีบหรือการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเดิลขวา
ผนังระหว่างเวนตริเดิลมีรูรั่ว
ตำแหน่งของลิ้นเอออร์ติดเลื่อนไปทางด้านขวา
การหนาตัวของเวนตริเดิลขวา
อาการและอาการแสดง
2.ภาวะหัวใจวาย
โดยเฉพาะในเด็กเล็กในช่วงอายุ 23 เดือนแรก เนื่องจากมี VSD ขนาดใหญ่ ทำให้มีปมาณสือดไหลดจากห้ใจซีกชำยไปซีกขวามาก
1.อาการเขียวทั่วร่างกาย
จะพบได้บ่อยที่สุด โดยอาการเขียวจะเห็นได้ชัดเจน
ในช่วงอายุ 36 เดือนขึ้นไป ส่วนใหญ่เด็กจะมีอาการเขียวเวลาร้องไห้
การวินิจฉัย
การซักประวัติ เหนื่อยง่าย มีอาการเขียวเวลาออกแรง
การตรวจร่างกาย ในรายที่มี VSD ขนาดเล็ก จะฟังได้เสียง murmer มีอาการเขียวทั้งตัว เล็บมือและเล็บเก้มีสีเขียวคล้ำ หลอดเลือดฝอยที่ตาขาวมีสีคล้ำ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ พบมีเวนตริเคิลขวาโต
ภาพรังสีทรวงอก บางรายอาจพบเวนตริคิลขวาโต หลอดเลือดออร์ตัสวนที่ไปเลี้ยงร่งกายส่วนบนจะมีขนาดโตขึ้น
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจความถี่สูง
6 การตรวจห้วใจและการฉีดสารทึบรังสี
การรักษา
มีอาการซีดจากการขาดเหล็ก ควรให้เหล็กเสริม
เด็กที่มีอาการ hypoxic spells
จับให้เด็กอยู่ในท่เข่าชิดอก และดูแลให้ออกซิเจน
ให้สารน้ำและกลูโคสทางหลอดเลือดดำ
ให้โซเดียมไบคาร์บอเนต
การรักษาโดยการผ่าตัด
การผ่าตัดเพื่อบรรเทาอาการ
การผ่าตัดเพื่อแก้ไขความผิดปกติ
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก (increased pulmonary blood flow)
Double outlet right ventricle (DORV)
หมายถึง โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก โดยมีหลอด
เลือดเอออร์ตและหลอดเลือดแดงพัลโมนรีออกจากเวนตริเคิลขวาทั้งคู่
อาการและอาการแสดง
จะมีอาการและอาการแสดงคล้ายในผู้ป้วยที่มี VSD ขนาดใหญ่และมีความดันในหลอดเลือดแดงพัลโมนารีสูง คือจะมีอาการเขียวเพียงเล็กน้อย
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ผู้ป้วยจะมีประวัติอาการเขียว หอบเหนื่อย มีภาวะหัวใจวาย หรือมีประวัติของการ
การตรวจร่างกาย มักคลํ้าได้ systolic thrill บริเวณขอบซ้ยของกระดูกอกตอนบน และฟังได้เสียงsystolic murmur
ภาพรังสีทรวงอก จะแสตงลักษณะของหลอดเลือดแดงพัลโมนารีขยายใหญ่
3.คลื่นไฟฟ้าหัวใจ DORV
คลื่นเสียงสะท้อนหัวจดวามถี่สูง
การตรวจสวนหัวใจและการฉีดสารทึบรังสี
การรักษา
รักษาภาวะหัวใจวายในผู้ปวยกลุ่มที่ 1 และ 3 และป้องกันการเกิดภาวะ anoxc spells ในผู้ป่วย
กลุ่มที่ 2
การฝ่ตัดเพื่อบรรเทาอาการ โดยทำ modfed Blalock-Taussig shun ในผู้ป่วยกลุ่มที่ 2 ให้เลือด
ไปปอดมาทขึ้น
การนำตัดเพื่อแไขความผิดปกติ ม้กทำในผู้ปวยที่มีฮีมาโตคริทสูงกว่าร้อยละ 65
Truncus arteriosus
วินิจฉัย
การซักประวัติ มีประวัติของภาวะหัวใจวาย การติดเชื้อในระบบหายใจ และมีอาการเขียวได้
การตรวจร่างกาย จะพบว่ผู้ป่วยมีอาการหายใจร็ว ชีพจรเต้นแรง หัวใจเต้นเร็ว มีอาการเขียวแต่ไม่มากและหน้าอกซ้ายโป้ง
คลื่นไฟฟ้หัวใจ แสดงลักษณะของเวนตริเคิลชายและขวาโต บางรายอาจมีการขยายของเอเตรียมซ้ายด้วย
ภาพรังสีทรวงอก จะมีเงาหัวใจโต ขั้วหัวใจแคบ และมีหลอดเลือดไปปอดเพิ่มขึ้น
คลืนเสืงสะอนห้ใความถี่สูง
การรักษา
การรักษาด้ยยา ในผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะหัวใจวาย ให้การรักษาด้วยยาจำพวกดิจิทาลิส และยาชัพ
ปัสสาวะ
การรักษาด้วยการผ่าตัด โดยการทำการผ่าตัดเพื่อบรรเทาอาการ คือ pulmonary artery banding จะทำในรายที่สภาพของผู้ปวยยังไม่พร้อม และการฝ่าตัดเพื่อแก้ไขความผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
ผู้ปวยมักแสดงอาการได้ตั้งแต่อายุ 1 เดือนแรก หรือภายในขวบปีแรก โดยมีอาการของภาวะหัวใจวาย และอกรเขียว อาการของภวะหัวใจวาย เช่น อาการหายใจเร็ว ดูดนมแล้วหนื่อย เหงื่อออกมาก น้ำหนักตัวน้อย และจะพบอาการเขียวเพียงเล็กน้อย
Transposition of great arteries (TGA)
อาการและอาการแสดง
มีอาการเขียวมากตั้งแต่แรกเกิดหรือ ภายใน 2-3 วันแรกหลังเกิด ต่อมาจะมีอาการหอบเหนื่อย มีอาการของหัวใจวาย
การวินิจฉัย
การซักประวัติ มีอาการเขียวจัดตั้งแต่แรกเกิด บางรายจะมีอาการหอบลึก และมีประวัติของภาวะหัวใจวาย
2 การตรวจร่างกายในรายที่มี VSD จะได้ยินเสียง sysoc murmer บริเวณขอบซ้kยของกระดูกอก
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ มีเวนตริเคิลขวาโต แต่ในสัปคห์แรกหลังเกิดอาจพบว่อยู่ในเกณฑ์ปกดิ
ภาพรังสีทรวงอก จะพบหัวใจโต
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจความถี่สูง
การตรวจสวนหัวใจและการฉีดสารทึบรังสี
การรักษา
ในทารกแรกเกิดที่เป็น TGA และ intact ventricular septum ควรให้ proslaglandins E เพื่อป้องกันมิให้ PDA ปิด
การผ่าตัดเพื่อแก้ไขความผิดปกติ
โดยทำผ่าตัดสลับ หลอดเลือดเอออร์ตกับหลอดเลือดแดงพัลโมนารี ทำให้หลอดเลือดเอออร์ต้ออกจากเวนตริเคิลช้าย และหลอด เลือดแดงพัลโมนารีออกจากเวนตริเคิลขวา รวมทั้งย้ายหลอดเลือด coronary arteries จากหลอดเลือดเอออร์ต้า ไปยังหลอดเลือดแดงพัลโมนารีด้วย
Total anomalus pulmonary venous connection (TAPVC)
อาการและอาการแสดง
ผู้ปวยส่วนใหญ่มักจะมีอากรเขียวตั้งแต่อายุน้อยๆ ในรายที่ไม่มีการตีบที่ทางเปิดของหลอดเลือดดำ
พัลโมนรึ ผลให้เกิดภาวะหัวใจวายได้
การวินิจฉัย
การชักประวัติ อาจมีประวัติเขียว ภาวะติดเชื้อในระบบหายใจ และภาวะหัวใจวาย
การตรวจร่างกาย จะมีอาการแสดงของภาวะหัวใจวาย หายใจเร็ว ดูดนมแล้วเหนื่อย น้ำหนักขึ้นช้า
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ มีเอเตรียมขวาขยายตัวและเวนตริเคิลขวาหนาตัว
ภาพรังสีทรวงอก ในรายที่เป็น TAPVC ชนิด cardiac และ supracardiac type
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจความถี่สูง
6.การตรวสวนหัวใจและการฉีดสารทึบรีงสี
การรักษา
รักษาในรายที่มีภาวะหัวใจวายและทำหารผ่าตัดเพื่อบรรเทาอาการ โดยการทำ balloon atrial septostomy ในายที่มี forameoale เปิดไม่ตี ส่วนการฝตัตเพื่อแไขวามผิดปกติ จะเป็นวิธีที่ได้ผลดีที่สุด ซึ่งควรทำในเด็กอายุน้อยกว่ 1 ปี โดยการต่อ common pulmonay veins จากปอด เข้าสู่เอเตรียมซ้าย และปิด ASD