Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Breech presentation (ชนิดของท่าก้น (Incomplete breech (ท่าก้นชนิดไม่สมบูร…
Breech presentation
ชนิดของท่าก้น
Complete breech
(ท่าก้นชนิดสมบูรณ์)
ทารกอยู่ในท่างอสะโพกและงอเข่าทั้งสองข้างมือกอดอกและก้นเป็นส่วนนำลงมาในอุ้งเชิงกราน
Incomplete breech
(ท่าก้นชนิดไม่สมบูรณ์)
เป็นท่าก้นที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของขาอยู่ต่ำกว่าsacrum
Frank breech หรือ
extended breech
Single footling
Double footling
Knee presentation
สาเหตุของการตั้งครรภ์ท่าก้น
ด้านมารดา
มีสิ่งขัดขวางการเข้าสู่ช่องเชิงกรานของศีรษะทารก
รกเกาะต่ำ
มีก้อนในอุ้งเชิงกราน
CPD
ผนังหน้าท้องหย่อนยาน
ในครรภ์หลัง
มดลูกมีลักษณะผิดปกติ
ครรภ์แฝดหรือครรภ์แฝดน้ำ
ด้านทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกมีความผิดปกติ
ทารกหัวบาตร
ทารกไม่มีสมอง
วิธีการช่วยคลอดท่าก้น
การช่วยคลอดทางช่องคลอด
Spontaneous breech delivery
การให้มารดาออกแรงเบ่งให้ทารกคลอดออกมาเองผู้ทำคลอดเพียงแต่ช่วยพยุงส่วนของลำตัวทารกที่คลอดออกมาแล้วเท่านั้น
Partial breech extraction หรือ
Breech assisting
การช่วยคลอดเหลือการคลอดท่าก้นเมื่อสะดือทารกพ้นปากช่องคลอดแล้ว โดยจะช่วยดึงทารกออกมาตามกลไกของการคลอด
Total breech extraction
การทำคลอดทารกท่าก้นโดยทำคลอดทั้งตัวได้แก่ สะโพก ไหล่ และศีรษะตามกล
อันตรายของการคลอดท่าก้น
ต่อมารดา
การติดเชื้อ
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
การตกเลือดหลังคลอด
ต่อทารก
กระดูกหักและข้อเคลื่อน
อันตรายต่ออวัยวะภายในช่องท้อง
เลือดออกในสมอง
ทารกขาดออกซิเจน
การผ่าตัดนำทารกออกทางหน้าท้อง
ข้อบ่งชี้
Absolute indication
การคลอดติดขัด
CPD
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
เนื้องอกในอุ้งเชิงกราน
Placenta previa
กระดูกเชิงกรานหักหรือผิดปกติช่องคลอด
CA Cervix
หลังผ่าตัดตกแต่งช่องคลอด
Relative indication
Previous c/s
Myomectomy
Abruptio placenta
โรคทางอายุรกรรม GDM, PIH
Fetal distress
ครรภ์แฝด
มีประวัติทารกตายหรือพิการจากการคลอด
ติดเชื้อเริมที่อวัยวะสืบพันธุ์
ชนิดของ Cesarean section
Skin incision
Low vertical skin incision หรือ Median incision
Transverse skin incision หรือ Pfannenstiel’s incision
Uterine incision
Classical c/s
Low cervical หรือ Low segment c/s
Cesarean hysterectomy
Extraperitoneal c/s
Breech presentation in labor with preterm
Preterm labor
สาเหตุการคลอดก่อนกำหนด
การติดเชื้อ
การติดเชื้อของกระเพาะปัสสาวะหรือของไต
ติดเชื้อในน้ำคร่ำ
ไส้ติ่งอักเสบ
การติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์
มีประวัติการคลอดก่อนกำหนดมาก่อน
ครรภ์แฝด
รกฝังตัวผิดปกติมดลูกผิดปกติ
มดลูกมีรูปร่างผิดปกติแต่กำเนิด
มีภาวะน้ำคร่ำมากกว่าปกติ
มีเนื้องอกมดลูกปากมดลูกขยายตัวก่อนครบกำหนดคลอด
การสูบบุหรี่หรือการใช้สารเสพติด
ทำงานหนักเช่นเดินหน้ายืนนาน
อุบัติเหตุในขณะตั้งครรภ์
การถูกกระทบกระแทกอย่างแรง
่ส่วนใหญ่ประมาณ 50% ยังหาสาเหตุการเกิดไม่ได้
แพทย์ทำการยุติการตั้งครรภ์เนื่องจาก
ตั้งครรภ์ต่ออาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อมารดา
มารดามีโรคประจำตัวที่รุนแรงอยู่เดิม
โรคความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจ
โรคตับ
โรคไต
โรคเลือด
โรคSLE
เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์จำเป็นต้องยุติการตั้งครรภ์
ภาวะครรภ์เป็นพิษ
ภาวะตกเลือดจากรกลอกตัวก่อนกำหนด
ภาวะรกเกาะต่ำ
การตั้งครรภ์ต่ออาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อมารดา
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
น้ำคร่ำน้อยผิดปกติ
Pt. U/S AFI 5 cm
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
หถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์ร่วมกับภาวะติดเชื้อในน้ำคร่ำ
แนวทางการรักษามารดาที่เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
รับตัวผู้ป่วยไว้เพื่อรักษาในโรงพยาบาล
ตรวจหาสาเหตุของอาการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ตรวจสุขภาพทารกในครรภ์โดยการเช่นตรวจอัลตร้าซาวด์เพื่อประเมินน้ำหนักทารกในครรภ์และการเต้นของหัวใจทารก
ตรวจความถี่ของการหดรัดตัวของมดลู
ให้ยาเพื่อช่วยยับยั้งการเจ็บครรภ์
ให้ยากระตุ้นให้ปลอดของทารกทำงานได้ดีขึ้นโดยฉีดยาเข้าทางกล้ามเนื้อของมารดา
ให้ยากระตุ้นให้ปลอดของทารกทำงานได้ดีขึ้นโดยฉีดยาเข้าทางกล้ามเนื้อของมารดา
1 more item...
การวินิจฉัย
มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างน้อย 4 ครั้งใน 20 นาทีหรือ 6 ครั้งใน 3 นาทีร่วมกับ
ปากมดลูกเปิดมากกว่า 1 cm และ ปากมดลูกบางตัวมากกว่าหรือเท่ากับ 80% หากมีลักษณะการตรวจไม่ครบทั้ง 2 ข้อให้วินิจฉัจฉัยเป็น Threataned Preterm Labor
การเจ็บครรภ์ก่อนกำหนดตั้งแต่อายุครรภ์ตั้งแต่ 24 สัปดาห์จนถึงก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
การดูแลรักษา Perterm labor ที่ไม่มีน้ำเดิน
Threataned Preterm Labor
ไม่ต้องให้ยาต้านการหดรัดตัวของมดลูกไม่ต้องให้ corticosteroid
ตรวจหาสาเหตุของการเจ็บครรภ์เช่น UA, vaginitis, anemia และรักษาตามสาเหตุ
พิจารณารับไว้ในห้องคลอดสังเกตอาการอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
อาการไม่รุนแรงขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง พิจารณาจำหน่ายได้
หากรุนแรงขึ้นจนเข้านิยาม Perterm labor ให้รักษาแบบ Perterm labor
Perterm labor
รับไว้ในห้องคลอดทุกราย
อายุครรภ์ ≥ 34 สัปดาห์
สืบค้นสาเหตุ perterm labor
ส่วนใหญ่ทารกจะมีการพยากรณ์โรคดีหลังคลอด
ไม่ให้ tocolytic drug
ไม่ให้ corticosteroid
ปล่อยให้การคลอดดำเนินไปตามธรรมชาติ
ให้ Ampicillin 2 gm IV ทุก 6 ชั่วโมง ตั้งแต่เข้า Active Phase จนคลอด เพื่อป้องกันในทารกตัดคลอดตาม obstetrics indication
อายุครรภ์ 24 - 33 สัปดาห์ 6 วัน
สืบหาสาเหตุของ Perterm labor
UTI
anemia
fetal anomaly
vaginitis
หรือสาเหตุอื่นตามลักษณะตรวจสอบและรักษาตามสาเหตุ
ให้ dexamethasone 6 mg IM q 12 hr จนครบ 4 dose
พิจารณาให้ tocolytic drug ถ้าไม่มีข้อห้าม โดยให้จนกระทั่งมารดาได้รับยา dexamethasone ครบ 4 dose แล้วพิจารณาหยุดได้
กรณีผู้ป่วยได้ยาdexamethasone มาแล้ว 1 คอร์สเป็นเวลานานกว่า 2 สัปดาห์ อาจพิจารณาให้ซ้ำอีก 1 คอร์ส
ตรวจสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์ เพื่อประเมินก่อนให้ยา tocolytic drug โดย
ด้านมารดาตรวจ CBC, electrolytes, blood sugar
ด้านทารกตรวจบันทึกโดยใช้ Electric Fetal Monitor อย่างน้อย 20 นาที
กรณียับยั้งสำเร็จ พิจารณากลับบ้านได้หรือย้ายไปหอผู้ป่วยแล้วแต่แพทย์ผู้ดูแล
กรณียับยั้งไม่สำเร็จ notify กุมารแพทย์หยุดยาtocolytic drug ให้ Ampicillin 2 gm IV ทุก 6 ชั่วโมงจนคลอด เพื่อป้องกัน GBS Infection ในทารกคลอดตาม obstetrics indication หลีกเลี่ยง traumatic delivery
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากยา tocolytic drug แล้วแต่ชนิดของยา
Volume overload
Hypotension
Tachycardia
Respiratory depression
ข้อมูลมารดา 🤰
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 32 ปี G4P2-0-1-2
GA 35 Wks. By U/S
ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
LMP : 23/06/62
EDC : 29/03/63
ประวัติการตั้งครรภ์ G4P2-0-1-2
พ.ศ. 2549
G1 Full term Normal labor เพศหญิง น้ำหนักแรกเกิด 2,700 g แข็งแรงดี
พ.ศ. 2554
G2 Spontaneous Abortion
พ.ศ. 2556
G3 Full term Normal labor เพศหญิง น้ำหนักแรกเกิด 3,500 g แข็งแรงดี
Admit LR
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
มีน้ำออกทางช่องคลอด 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
Cough test : negative
Nitrazine test : negative
PV
dilatation 3 cm
effacement 25%
station -2
position SRA
Membrane intact
Contraction
Interval 6 นาที
Duration 30 วินาที
Intensity ++
U/S
EFW 2,700 g
AFI=5 cm
ยาและสารน้ำที่ได้รับก่อนผ่าตัด
RLS 1000 ml IV drip 100 ml/hr
Ampicillin 2gm IV push
Dexamethasone 6 mg IM
การผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวผู้ป่วย โดยการเรียกชื่อ และบอกผู้ป่วยว่าตอนนี้อยู่ที่ห้องฟักฟื้น
ประเมินสัญญาณชีพ ได้แก่ BP, RR, HR, O2 sat ทุก 5 นาทีจนถึง 1 ชั่วโมง
ประเมินอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ คันตามผิวหนัง จากการได้รับยาระงับความรู้สึก spinal block with morphine
ประเมินอาการ Hypovolemic shock จากเสียเลือดในการผ่าตัด เช่น หน้าซีด ใจสั่น มือเท้าเย็น
สังเกตบริเวณแผลผ่าตัดว่ามี bleed ซึมหรือไม่ และ ประเมินว่ามี Bleeding per vagina หรือไม่
ดูแลให้ความอบอุ่นแก่ผู้ป่วยโดย ห่มผ้าห่มและเปิดเครื่อง warmer
สังเกตลักษณะ สี ปริมาณของปัสสาวะ
ดูแลให้ได้รับ IV Acetar + synto ตามแผนการรักษา
เมื่อครบ 1 ชั่วโมง ย้ายผู้ป่วยไปตึกหลังคลอดเมื่อไม่มีอาการผิดปกติ
Pre operative Dx.
: Breech presentation in labor with preterm
Operative : Low Transverse Cesarean Section with Tubal Resection (LT C/S c TR)
Post operative Dx.
: Breech presentation in labor with preterm with multiparality