Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 10: ภาวะผู้นํากับการสื่อสาร (7C การสื่อสารที่ดี (ชัดเจน, กระชับ,…
หน่วยที่ 10:
ภาวะผู้นํากับการสื่อสาร
ความหมายของ
การสื่อสาร
กระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ ความรู้สึก ความคิดเห็น ความต้องการ จากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร โดยผ่านสื่อต่างๆ
องค์ประกอบของการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร หรือผู้เข้ารหัส (sender / encoder)
ผู้รับสาร หรือ ผู้ถอดรหัส (receiver / decoder)
สาร (message)
3.1 รหัสของสารที่ใช้คํา
3.2 รหัสของสารที่ไม่ใช้คํา
ช่องทางการสื่อสาร (channel)
7C การสื่อสารที่ดี
ชัดเจน
กระชับ
Concrete ตรงประเด็น
4.Correctถูกต้อง
Consideration - พินิจพิเคราะห์/
เห็นอกเห็นใจผู้อื่น
6.Completeครบถ้วน
7.Courteousสุภาพ
การสื่อด้วยการพูด (Speech)
ความหมาย
เป็นการสื่อสารของมนุษย์โดยใช้ปาก
และกล่องเสียงเพื่อเปล่งเสียงออกมา
เพื่อใช้ในการสื่อสาร ระหว่างบุคคล
โดยอาศัย ภาษา เป็นตัวสื่อความหมาย
ประเภทของการพูด
แบบที่ 1 แบ่งตามวิธีพูด
1) การพูดโดยฉับพลันหรือกระทันหัน
2) การพูดโดยการเตรียมการมาล่วงหน้า
3) การพูดโดยอาศัยอ่านจากต้นฉบับ
4) การพูดโดยวิธีท่องจํา
5) การพูดโดยการจําโครงเรื่อง
แบบที่ 2 แบ่งตามจํานวนผู้ฟัง
1) การพูดรายบุคคล
2) การพูดในที่ชุมนุมชน
ข้อดีของการสื่อสารด้วยคําพูด
1) สร้างความเข้าใจให้กับผู้ฟังได้อย่างรวดเร็ว
2) เป็นเครื่องมือสร้างมนุษย์สัมพันธ์กับบุคคลได้ผลที่สุด
3) สามารถพิสูจน์ได้ว่าคําพูดที่พูดไปได้ผลหรือไม่ทันที
4) สามารถดัดแปลงแก้ไขคําพูดหรือยืดหยุ่น
ให้เหมาะสมกับโอกาส เวลา หรือเหตุการณ์
ข้อจํากัดของการ
สื่อสารด้วยคําพูด
1) สถานที่ไม่เอื้ออํานวย ต่อการสื่อสารด้วยคําพูด
การสื่อสารด้วยคําพูดมักมีขอบข่ายครอบคลุมผู้ฟังได้ไม่มาก
2)เรื่องสื่อสารมีความซับซ้อนการใช้คําพูด
ทําให้ผู้ฟังไม่เข้าใจการเขียนจะเหมาะสมกว่า
3) สารจากคําพูด เป็นสารที่ไม่คงทน
4) มีโอกาสผิดพลาดในแง่ข้อเท็จจริง
หรือผิดจากเจตนาที่แท้จริงของผู้พูดได้ง่าย
ลักษณะผู้พูดที่ดี
มีความคิด มีข้อคิดเห็น มีความรู้ที่จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง
2.มีจุดประสงค์ที่แน่นอนและรู้จุดประสงค์แจ่มแจ้ง
มีเค้าโครงเรื่องใหส้ามารถพูดได้ตรงตาม
เป้าหมายที่ต้องการไม่ออกนอกประเด็น
รู้จักการใช้ภาษาที่ดี เลือกใช้ภาษาที่ดี และเหมาะสม
5.มีบุคลิกภาพที่ดีบุคลิกภาพของผู้พูดแสดงออกทั้ง
ในด้านกิริยาท่าทางและน้ําเสียง
มีความสังเกตและมีไหวพริบดี
เป็นนักฟงัที่ดีศึกษาหาความรู้อยู้เสมอยอมรับ
คําวิจารณ์เป็นตัวของตัวเอง
การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้พูด
สร้างแรงจูงใจในทางที่ดี
2.สร้างภูมิปัญญาพยายามเพิ่มพูน
ความรู้ให้แก่ตนเอง
สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง
สร้างความเป็นกลางในใจและ
ไม่แสดงอารมณร์ุนแรงในการพูด
การเตรียมการพูด
เลือกเรื่องควรเลือกให้เหมาะสมแก่ผู้ฟัง
กําหนดขอบเขต การกําหนดขอบเขตต้องคํานึง
ถึงพื้นความรู้ของผู้ฟัง เวลา และโอกาส
กําหนดจุดประสงค์ให้ชัดเจนจุดประสงค์การพูด
การวางเค้าโครงเรื่องและหาข้อมูล
เรียบเรียงเรื่องราว
บทนําหรือการเริ่มต้นเรื่อง
เนื้อหา ดําเนินงานตามลําดับขั้น
ตามเค้าโครงที่กําหนดไว้
บทสรุป ลงท้ายด้วยข้อคิด
ฝึกซ้อม
7.ทบทวนประเมินผล
การใช้ภาษาในการพูด
เลือกใช้คําง่ายๆเข้าใจได้ชัดเจนประโยคไม่ควรยาวนัก
การใช้สํานวนโวหารไม่ควรใช้สํานวนยาวเกินไป
เลือกระดับคําพูดให้เหมาะสมกับผู้ฟังและโอกาส
คําสแลงคําหยาบคายคําล้อเลียนต่างๆต้องระวังเลือกใช้ให้ดี
ระดับของภาษา
ภาษาปาก มักใช้ในโอกาสส่วนตัวกับบุคคลที่
คุ้นเคยอาจใช้คําสแลงหรือภาษาถิ่นได้
ภาษากึ่งแบบแผนใช้กับภาษาพูดหรือภาษาเขียน
ที่ไม่เป็นพิธีการเป็นภาษาที่สุภาพชนใช้สนทนากัน
ภาษาแบบแผนใช้กับภาษาเขียนมัก
ใช้ในโอกาสที่เป็นพิธีการ
การใช้คํา และการใช้ประโยคในการพูด
การออกเสียงที่ถูกต้อง
1.1 ออกเสียง ร ให้ชัดเจน
1.2 ออกเสียงคําควบกล้ำ
1.3 ออกเสียงถูกต้องตามอักขรวิธี
1.4 ออกเสียงครบถ้วนไม่ตัดพยางค์
1.5 ออกเสียงแบ่งวรรคตอนได้ถูกต้อง
1.6 ออกเสียงไม่ผิดเพี้ยนวรรณยุกต์
หรือไม่เต็มคํา
หลีกเลี่ยงการใช้คําสแลงคําภาษาถิ่น
คําไม่สุภาพและคําฟุ่มเฟือย
ใช้คําต่างประเทศเฉพาะกรณีเป็น
ศัพท์เฉพาะทางวิชาการ
ใช้คําให้ตรงความหมาย