Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาระบบหายใจ : (ระบบช่วยแลกเปลี่ยนอากาศ ทรวงอก กล้ามเนื้อหายใจ…
พยาธิสรีรวิทยาระบบหายใจ :
ระบบช่วยแลกเปลี่ยนอากาศ ทรวงอก กล้ามเนื้อหายใจ เยื้อหุ้มปอด
กล้ามเนื้อหายใจ/เยื้อหุ้มปอดที่บาดเจ็บการเคลื่อนไหวขณะหายใจเข้าและออกสวนทางกับการเคลื่อนไหวปกติ
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD),มะเร็งปอด,ปอดติดเชื้อ
กระดูกซี่โครงหัก sternum
มากกว่าหนึ่งตำแหน่ง
กระดูกซี่โครงที่อยู่ติดกันอย่างน้อย 3 ซี่
ส่วนที่หักแยกออกจาผนังทรวงอก
มีสิ่งขัดขวางการแลกเปลี่ยนอากาศ: หนอง,ของเหลว ระหว่างชั้นช่องเยื้อหุ้มปอด
ภูมิคุ้มกันผิดปกติ : โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง(MG)
ภาวะเลือดออกในช่องระหว่างชั้นช่องเยื้อหุ้มปอด(haemothorax)
เลือดขัดขวางการขยายตัวของปอด
ช็อก จากการฉีกขาดหอดเลือดใหญ่หรือขั้วหัวใจ
ภาวะมีลมในช่องระหว่างชั้นช่องเยื้อหุ้มปอด(pneumothorax)
ผล
ปอดขยายตัวลดลง
ลดการแลกเปลี่ยนอากาศ
เสียงหายใจเบา
ผลตรวจ: เคาะได้ยินเสียงโปร่ง
ทำให้
ความดันในช่องเยื้อหุ้มปอดเพิ่มขึ้น(ปกติมีค่าเป็นลบ)
ขวางกลไกการหายใจเข้า
เยื่อหุ้มปอดชั้นในและส่วนผนังแยกออกจากกัน
กลไกและอาการ
หายใจลำบาก(dyspnea)
ระยะแรก : หายใจเร็ว+สั้น ไม่ลึกขาดออกซิเจน
ระยะปรับตัว: เพิ่มการหดตัวของกะบังลม+กล้ามเนื้อระหว่างซี่โครง
ความดันในปอดเป็นลบมากกว่าปกติ
หน้าอกบุ๋ม
กล้ามเนื้อระหว่างซี่โครงบุ๋ม
ใช้กล้ามเนื้อ sternocleidomastoid+scalene+serratusช่วยหายใจ
ทรวงอกขยายเพิ่มขึ้นขณะหายใจเข้า
ระยะปรับตัวล้มเหลว
อาการ
เขียวคล้ำ(cyanosis)เช่น ริมฝีปาก เล็บผิวหนัง
ในหลอดเลือดแดงมีฮีโมโกบินที่ขาดออกซิเจน
ผล
เซลล์ได้รับออกซิเจนต่ำ(hypoxia)
ภาวะขาดออซิเจน(anoxia)
ความเข้มข้นในเลือดต่ำ(hypoxemia)
ทำให้การระบายอากาศบกพร่อง
ระบบหายใจส่วนนำส่งก๊าซ
สาเหตุและกลไก
ระยะปรับตัว
สิ่งแปลกปลอม: เนื้องอก เสมหะ
การอักเสบเรื้อรัง
ทางผ่านของอากาศตีบแคบ
Goblet cell
เพิ่มจำนวน+ขยายขนาด
เพิ่มการสร้างและหลั่ง mucus
การสะสมของเสมหะ
cilia ทำหน้าที่บกพร่อง การคั่งของเสมหะ+ไอเรื้อรัง
การตีบ เนื่องจากหลอดลมหดตัว : โรคหืด
ระยะปรับตัว+ปรับตัวล้มเหลว
การหายใจลดลงเกิดจากเพิ่มแรงเพื่อหายใจ : เพิ่มการหดตัวของกล้ามเนื้อขณะหายใจ : กะบังลมกล้ามระหว่างและกล้ามเนื้้อช่วยหายใจ
ภาวะเรื้อรัง ทำให้เพิ่มการสะสมอากาศในปอดรูปร่างทรวงอกเปลี่ยนแปลงเป็นอกถัง เคาะปอดได้เสียงโปร่งมาก เช่นCOPD
ความต้านทานเพิ่มขึ้น
การขัดขวาง/การอุดกั้นบริเวณทางผ่านของอากาศ
สิ่งอุดกั้น
เนื้องอก การคั่งของเสหะ การติดเชื้อ
การอักเสบ: กล่องเสียงอักเสบ, หลอดลมอักเสบ,โรคหืด
อาการ 4 ระดับ
ระดับปานกลาง หายใจเย็น ปีกจมูกบานเพื่อเพิ่มปริมาณอากาศ หายใจลำบาก : หน้าอกและกล้ามเนื้อระหว่างร่องซี่โครงบุ๋มขณะหายใจเข้า เมื่ออกแรง : หายใจเสียงดังทั้งขณะหายใจเข้าออก เหนื่อยง่าย : ประสิทธิภาพการหายใจลดลง อกถัง และเคาะปอดได้เสียงโปร่งมาก : มีอากาศสะสมในปอด
ระดับรุงแรง ในขณะพัก : หายใจเสียงดัง ซีด ความดันโลหิตสูงขึ้น หัวใจเต้นเร็ว : ระบบประสาท sympathetic
ระดับเล็กน้อย ไอเสียงแหบ(การอุดกั้นที่กล่องเสียง) stridor,wheeze(หลอดลมหดตัว)
อุดกั้นทางผ่านอากาศ ไม่มีเสียงหายใจ หายใจช้าหรือหยุดหายใจ
เขียวคล้ำ เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
BPต่ำและหัวใจเต้นช้า sym ทำงานลดลง
ระบบควบคุมการหายใจ สมอง ไขสันหลัง เส้นประสาท
กลไก
เพิ่ม ลด หยุด ส่งสัญญาณประสาทไปควบคุมกล้ามเนื้อหัวใจ
รบกวนศูนย์ควบคุมการหายใจ/วิถีประสาท
อาการ
สำลัก
ผิดปกติ
ปอดอักเสบ
สำลัก
ปกติ
ลิ้นไก่ยกตัวขึ้นปิดป้องกันอาหารขึ้นจมูก
ลิ้นดันอาหารและน้ำให้ไหลลงหลอดอาหาร
กล่องเสียง เลื่อนขึ้น,ปิด epiglottis ป้องการอาหารเข้าหลอดลม
ไอ
ไอมากกว่าปกติ ทำให้นอนไม่หลับ ปวดแผลผ่าตัด
มีเสมหะ จากการติดเชื้อในระบบหายใจ
ไม่มีเสมหะ
เรื้องรัง จากการอักเสบของระบบหายใจส่วนบน
เฉียบพลัน< 3 สัปดาห์ จากการระคายเคือง
ไอน้อยกว่าปกติเนื่องจากได้รับมอร์ฟีน ลดการจำกัดสิ่งแปลกปลอม
เพิ่มการติดเชื้อในระบบหายใจ
การอุดกั้นทางผ่านอากาศ
ลักษณะการหายใจ
4.หาายใจไม่สม่ำเสมอ(cheyne - Strokes respiration)
วงจร : หายใจลึก,อัตรา,จังหวะ,หยุดหายใจ
เนื่องจาก
โรคหัวใจซีกซ้ายล้มเหลว
โรคทางสมอง
1.การหายใจช้า(bradypnea),หยุดหายใจ(apnea)
กลไก:การกดศูนย์หายใจ
สารพิษ,ความดันในสมองสูง
3.ถอนหายใจ(sighing respiration) หายใจสม่ำเสมอ, หายใจลึกเป็นระยะๆ
2.หายใจลึก(kussmual respiration)
กลไก: ภาวะกรดจากแมทเทบอลิซึม
หายใจลึก,สม่ำเสมอ อัตรา ; ปกติ ช้า เร็ว
สาเหตุ: การเปลี่ยนแปลงการทำหน้าที่ของศูนย์ควบคุมการหายใจ
ลดออกซิเจน
เลือดเป็นกรด
เพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์
ปิดกั้นคำสั่งจากระบบประสาทไปกล้ามเนื้อ
ยาสลบ ยานอนหลับ ยาแก้ปวด : Morphine
บาดเจ็บ สมองบวม เนื้องอก ความดันในสมองสูง
สารเคมี : Amphetamine
ระบบหายใจส่วนแลกเปลี่ยนก๊าซและหลอดเลือดฝอย
ระบบนำส่งแก๊ส:ระบบไหลเวียนเลือด:หัวใจ
กลไล
ลิ้นหัวใจทำหน้าที่ควลคุมการไหลลเวียนของเลือดไม่ให้ไหลย้อนกลับ
ถ้าลิ้นหัวใจปิดไม่สนิทเลือดจะไหลย้อนกลับ
ลดปริมาณเลือดจากหัวใจไปเลี้ยงเนื้อเยื้อ
กระตุ้นการบีบตัวและการเต้นแรงของหัวใจเพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือด
เลือดคั่งในหัวใจและปอด
เกิดภาวะหัวใจโต กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือด
การกำซาบบกพร่องการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย
ลิ้นหัวใจเป็นทางผ่านของเลือดขณะหัวใจบีบหัว
แคลเซียมและหินปูเกาะลิ้นใจหัวความยืดหยุ่นลดลง
ภาวะหัวใจตีบ
ช่องผ่านแคบเลือดไหลเวียนช้า
บกพร่องของการกำซาบ
เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื้อลดลง
หัวใจบีบตัวแรงและเร็ว
โรคกล้ามเนื้อหัวใจเต้นผิดปกติ ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อทั่วร่างกาย
กระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงและเร็ว
ในช่วงแรกเลือดที่ออกจากหัวใจเยอะแต่เลือดที่อยู่ในหลอดเลือดน้อย
ระยะหลัง
เลือดไปปอดน้อยลง
การกำซาบ การไหลเวียนเลือดในปอดบกพร่อง
การส่งเลือดไปเลี้ยงร่างกายลดลง
ภาวะการบีบรัดหัว
ภาวะเลือดไปคั่งในช่องเยื้อหุ้มหัวใจ
ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
ความดันนเลือดลดลงช็อก
แรงดังภายในช่องหัวใจสูงขัดขวางการบีบตัว
สาเหตุ
หัวใจเต้นผิดปกติ
โรคหัวใจเต้นผิดวังหวะ
ภาวะหัวใจเต้นพริ้ว
ภาวะหัวใจเต้นผิดหวะ
ลิ้นหัวใจผิดปกติ
ลิ้นเอออร์ตาตีบ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
หลอดเลือดหัวจอักเสบ
หลอดเลือดหัวใจหลอดแดงหดรัดตัว
ขัดขวางการบีบตัวของหัวใจ
ภาวะบีบรัดหัวใจ
เยื้อหุ้มหัวใจอักเสบและหดรัด
โรคกล้ามเนื้อหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
อาการ
แน่นหน้าอกเมื่อออกกำลังกายเนื่องจากขาดเลือด
เหนื่อยเมื่อออกกำลังกายเล็กน้อยรุนแรงเมื่อไม่ได้ทำอะไรก็เหนื่อย
หัวใจหยุดเต้นความผิดปกติของการกำหนดจังหวะและการนำจังหวะของการเต้นหัวใจ
ระบบไหลเวียนเลือด
หลอดเลือด
กลไก
เกิดความบกพร่องของการกำซาบ
ขัดขวางการผ่านของแก๊สเกิดการซึมซาบหนังหลอดเลือดหนาขึ้น
การส่งออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื้อส่วนต่างๆลดลง
ลดการไหลเวียนเลือดไปสู่ปอด
สาเหตุ
ความเสื่่อมของหลอดเลือด
หลอดเลือดแข็งเนื่องจากมีไขมันกับเม็ดเลือดขาวสะสมผนังหลอดเลือด
เสียความยืดหยุ่น
หลอดเลือดแดงแตก
การอุดตันของหลอดเลือด
โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน(PAOD)
ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดแดงปอด
อาการ
สมองขาดเลือด
อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ สับสน หมดสติ
หัวใจขาดเลือด
เจ็บหน้าอกหรือแขนซ้ายหรือกรามอึดอัดหายใจไม่ออก
ขาขาดเลือด
ปวดขาเมื่อเดินระยะทางไกลๆ
เลือด
สาเหตุ
ไข้เลือดออก โลหิตจาง เสียเลือด
ความผิดปกติของฮีโมโกลบิน
เลือดลดลง เสียน้ำ
อาการ
เหงื่อออก มือเท้าเย็น ซีด กระหายน้ำมาก หน้ามืดอ่อนเพลีย หายใจเร็วถี่ ชีพจรเต้นเร็วหรือเบา และหมดสติ
กลไก
ความบกพร่องกำซาบ ขาดออกซิเจน
การแลกเปลี่ยนก๊าซ: ระบบหายใจ
กลไก
การอักเสบของถุงลม
เพิ่มปริมาณน้ำในถุงลม
ขัดขวางการแพร่ผ่านก๊าซ/การซึมซาบ
ทำลายเซลล์ปอด
สร้างเซลล์เนื้อเยื่อเกี่ยวพันรอบเนื้อตาย
สูญเสียความยืดหยุ่น
ลดการระบายอากาศลดลง
ลดพื้นผิวสัมผัสระหว่างถุงลมและหลอดเลือดฝอย
ปอดมีสิ่งแปลกปลอม เสมหะ เลือด หนอง
การไอระบายสิ่งแปลกปลอม
เกิดพังดรอบสิ่งแปลปลอม
ภาวะหนองในช่องเยื้อหุ้มปอด
สิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ช่องเยื่อหุ้มปอด
การระบายอากาศลดลง
พังผืดฉีกขาด
การซึมซาบลดลง
เกิดภาวะบกพร่องออกซิเจน
อาการ
อ่อนเพลีย เบื่ออาการ ซีด นิ้วปุ้ม
ปอดลดการขายตัว เสียงหายใจเบาเสียงเคาะทึบและฟังปอดได้ยินเสียงCrackle
ไอมีเสมหะ
คนที่ไม่แข็งแรงอาจเสียชีวิตได้ ขาดออกซิเจน น้ำ
มีไข้ ปวดตามตัว
สาเหตุ
การอักเสบ
การติดเชื้อ
สำลักน้ำหรืออาหาร
มะเร็ง
ภาวะน้ำท่วมปอด
ฝีในปอด
ปอดแฟป
ปอดอักเสบ
หลอดลมโปร่งพอง
การหายใจระดับเซลล์เพิ่มขึ้น
เซลล์ใช้พลังงานเพิ่มขึ้น
กลไก
การติดเชื้อเพิ่มการทำหน้าที่ของเม็ดเลือดขาว
Hyrerthyroidism,Thyrotoxicosis,มะเร็ง
ความผิดปกติของไทรอยด์ฮอน์โมน
อาการ
ความผิดปกติของ หัวใจ :หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ความผิดปกติ T:มีไข้สูงมากกว่า 38 องศาหรือต่ำกว่า 36 องศา
ความผิดปกติของ R : หายใจเร็วหาย ใจหอบ
สาเหตุ
ภาวะหายใจล้มเหลว
(hypercapnia)คาร์บอนไดออกไซด์ไม่เพียงพอต่อร่างาย >50 mmHg
(hypoxemia)ออกซิเจนต่ำกว่า < 60 mmHg
ประเภทตามระยะเวลาการเกิด
เรื้อรัง
เฉียบพลันร่วมกับเรื้อรัง
เฉียบพลัน
ประเภทแบ่งตามสาเหตุ
ภาวะหัวใจล้มเหลวชนิดที่ 1
ภาวะหายใจล้มเหลวที่ความดันก๊าซออกซิเจนในเลือดแดงต่ำ(hypoxemic respiratory failure)
ภาวะหายใจล้มเหลวพร่องออกซิเจน(oxygenation failure)
การผ่านของก๊าซ/การซึมซาบ
การไหลเวียนเลือด
ออกซิเจนในเลือดต่ำ<60mmHg
ภาวะหายใจล้มเหลวชนิดที่ 2
ภาวะหารหายใจล้มเหลวเนื่องจากการระบายอากาศล้มเหลว(ventilatory pump failure)
ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูงกว่าปกติ
ภาวะหายใจล้มเหลวที่ระดับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง(hypercapnia respiratory failure)
ค่าความดันก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดง >50 mmHg
เลือดเป็นกรด ph น้อยกว่า 7.3
สาเหตุ
ความผิดปกตินอกทางเดินหายใจ
ทรวงอกและเยื้อหุ้มปอด
ระบบประสาทส่วนกลาง ส่วนปลาย และกล้อมเนื้อ
หัวใจ หลอดเลือด เลือด
เซลล์ใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น
ความผิดปกติทางเดินหายใจ
ระบายอากาศบกพร่อง
การระบายก๊าซบกพร่อง
ภาวะหายใจล้มเหลว กลไกและอาการ
ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดงสูงและภาวะกรดเกิน
เพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด
หลอดเลือดในสมองขยายตัว
เพิ่ม BPในสมอง
พูดไม่ชัด
กระสับกระส่าย
ตามัว
หมดสติ
ปวดศรีษะ
เลือดเป็นกรด
กระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจ
เพิ่มอัตราการหายใจ
เพิ่มความลึกของการหายใจ
หายใจเร็วลึก
หัวใจ
ระบบไหลเวียนเลือด
หลอดเลือด
ส่วนปลายขยาย
ผิวหนังแดงอุ่น
หลอดเลือดแดงปอดหดตัว
ความดันภายในปอดสูง
1 more item...
เต้นเร็ว,ช้า,ผิดจังหวะ
ลดปริมาณเลือดออกจากหัวใจ
ช็อก
ไต
เกลือแร่เพิ่มโพแทสเซียม
กรดด่างเพิ่มไบคาร์บอเนต
กล้ามเนื้อ
สั่น/กระตุก
อ่อนแรง
ทางเดินอาหาร
ปวดท้อง
อาเจียน
คลื่นไส้
ระดับออกซิเจนในเลือดแดงต่ำ
ระยะปรับตัว
ลดออกซิเจนในเลือดแดง
.กระตุ้นsym
เลือดเพิ่มการไหลเวียนหลอดเลือดสมอง หัวใจ ไตขยาย
หลอดเลือดแดงหดตัว BPสูง ลดการไหลเวียนเลือดสู่ผิวหนัง
เหงื่อออกมาก
ปลายมือ-เท้าเย็น
หัวใจเต้นแรง BPสูงเพิ่มการไหลเวียนเลือดเพิ่มการไหลเวียนหลอดเลือดสมอง หัวใจ ไตขยาย
กระตุ้นศูนย์ควบคุมการหายใจ
เพิ่มความแรงในการหายใจ/เพิ่มอัตราการหายใจ
กล้ามเนื้อหายใจและกล้ามเนื้อช่วยหายใจหดตัวมากขึ้น
ปรับตัวล้มเหลว
ลดออกซิเจนในเลือดแดง
ระบบหายใจ
หยุดหายใจ
หายใจลำบาก
หายใจช้า
ระบบประสาท
ชัก
กระสับกระสาย
ขาดสมาธิ
สับสน
หมดสติ
ระบบไหลเวียนเลือด
หัวใจลดปริมาณเลือดออกจากหัวใจBPต่ำ
เต้นผิดจังหวะ
ลดแรงบีบตัว
เต้นช้า
ช็อก เขียคล้ำ
หลอดเลือดแดงปอดหดตัว
ความดันในปอดสูง
ช็อก เขียวคล้ำ
เกิดขึ้นช้าๆ
ระบบไหลเวียนเลือด
ลดแรงบีบ
เต้นผิดจังหวะ
เต้นช้า
ลดเลือดไปสู่ไต
ไตสร้างErythropoietin เพิ่ม
ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่ม
เม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น