Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีก่อนคิสต์ศตวรรษที่ 20 (ทฤษฎีเน้นความรู้เเละการเชื่อมโยงความคิด…
ทฤษฎีก่อนคิสต์ศตวรรษที่ 20
ทฤษฎีเน้นความรู้เเละการเชื่อมโยงความคิด
นักคิด
จอห์น ล็อค วิลเฮล์ม วุนด์ ทิชเชเนอร์
แฮร์บาร์ต
ความเชื่อ
จอห์น คนเราเกิดมาจิตว่างเปล่า การเรียนรู้เกิดจากประสาทสัมผัสทั้ง 5
วุนด์ จิตมีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ สัมผัสทั้ง 5 และความรู้สึก คือแปลความหมายจากการสัมผัส
มนุษย์เกิดมาไม่มีดีเลว เกิดจากแรงกระตุ้นภายนอก/ สิ่งเเวดล้อม
ทิชเชเนอร์ เหมือนวุนด์ เเต่เพิ่มจิตอีก 1 ส่วน คือ จินตนาการ คือ การคิดวิเคราะห์
แฮร์บาร์ต การเรียนรู้มี 3 ระดับ คือ ขั้นเรียนรู้โดยประสาทสัมผัส ขั้นการจำความคิดเดิม ขั้นเกิดความคิดรวบยอด/ความเข้าใจ การสอนควรเริ่มจากการทบทวนความรู้เดิมแล้วจึงเสนอความรู้ใหม่
หลักการจัดการศึกษา
สร้างสัมพันธ์ความรู้ใหม่กับความรู้เดิม จะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจได้
ให้ผู้เรียนรับประสบการณ์ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
การสอนตาม 5 ขั้นเเฮร์บาร์ต คือ ขั้นเตรียม/ขั้นนำ ขั้นเสนอความรู้ใหม่ ขั้นสัมพันธ์ความรู้ใหม่และเดิม ขั้นสรุป ขั้นประยุกต์ใช้
ทฤษฎีเน้นการพัฒนาตามธรรมชาติ
นักคิด
รุสโซ ฟรอเบล เพสตาลอสซี
ความเชื่อ
มนุษย์เกิดมาพร้อมความดี การกระทำเกิดจากเเรงกระตุ้นภายใน
มนุษย์มีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ หากได้รับเสรีภาพ และสามารถพัฒนาตนเองไปตามธรรมชาติ
เด็กมีสภาวะของเด็ก พิจารณาถึงอายุเป็นหลัก เรียนรู้จากธรรมชาติ การกระทำของตนเอง มิใช่หนังสือ หรือคำพูด
ควรให้การศึกษาชั้นอนุบาล ให้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง การเล่นเป็นการเรียนรู้ที่สำคัญของเด็ก
มนุษย์ต้องมีการพัฒนาใน 3 ลักษณะ
คนสัตว์ คือ เปิดเผย เป็นทาสกิเลส
คนสังคม คือ เข้าและคล้อยตามสังคม
คนธรรม คือ รู้จักผิดชอบชั่วดี
การใช้สื่อจริงจะช่วยในการเรียนรู้ของเด็ก
หลักการจัดการศึกษา
จัดให้เด็กได้เรียนรู้จากธรรมชาติ
ได้รับประสบการณ์ตรงจากของจริง
ให้เล่นอิสระ
ได้เรียนรู้จากการกระทำตนเอง
ควรยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง ให้เสรีภาพในการเรียนตามความสนใจ
ทฤษฎีเน้นการฝึกจิตหรือสมอง
ให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากมากเท่าไร จิตจะได้ฝึกให้เเข็งเเกร่งมากขึ้น
1.กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า
นักคิด
จอห์น คาลวิน เซนต์ออกุสติน คริสเตียน โวลฟ์
ความเชื่อ
มนุษย์เกิดมากับความชั่ว การกระทำเกิดจากเเรงกระตุ้นภายใน
มนุษย์พร้อมทำชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอน
สมองแบ่งออกเป็น 2 ส่วน หากได้รับการฝึกจะเเข็งเเกร่ง การฝึกสมองให้รู้จักคิดต้องใช้วิชายาก ๆ
หลักการจัดการศึกษา
การฝึกจิตหรือสมองอย่างเข้มงวด เป็นหลักการที่ทำให้คนฉลาดและดี
การฝึกจิตให้เข้มงวด ถ้าผู้เรียนไม่เชื่อฟังต้องบังคับและลงโทษ
ให้เรียนเนื้อหาวิชาที่ยาก
ให้ศึกษาคัมภีร์และยึดถือในพระเจ้าจะช่วยให้ผู้เรียนเป็นคนดี
2.กลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์
นักคิด
เพลโต อริสโตเติล
ความเชื่อ
พัฒนาการต่าง ๆ เป็นความสามารถของมนุษย์ มิใช่พระเจ้า
มนุษย์เกิดมามีทั้งไม่ดีไม่เลว เกิดจากเเรงกระตุ้นภายใน
มนุษย์มีอิสระที่จะทำตามเหตุผลของตน หากฝึกฝนก็สามารถจะพัฒนาศักยภาพที่ติดตัวมา
หลักการจัดการศึกษา
การพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ คือ การกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้เเสดงออกมา
การพัฒนาผู้เรียนไม่ควรบังคับ เเต่ให้ใช้เหตุผล
ใช้วิธีสอนโสเครตีส คือ ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียน
ใช้วิธีสอนแบบบรรยาย คือ สอนให้ใช้คำถามฟื้นความจำแล้วเพิ่มประสบการณ์ให้ผู้เรียน