Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CA SIGMOID COLON WITH BLEEDING (กิจกรรมการพยาบาล (เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจาก…
CA SIGMOID COLON WITH BLEEDING
พยาธิสภาพ
อาการและอาการแสดง
ทฤษฎี
อาการ
ซีด
น้ำหนักลด
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
มีเลือดออกทางทวารหนัก
ท้องผุกสลับกับท้องเดิน ลักษณะลำอุจจาระเล็กกว่าปกติคล้ายแท่งดินสอ
อุจจาระอาจมีสีคล้ำดำแดง แดงสด อาจมีมูกปน
รู้สึกปวดเบ่งถ่ายตลอดเวลาหรือรู้สึกว่าถ่ายอุจจาระไม่สุด หรือถ่ายอุจจาระลำบาก
กรณีศึกษา
Vital sign แรกรับ
BP 105/53 mmHg
PR 112 bpm
RR 18 bpm
T 37.2 c
SpO2 100%
อาการและอาการแสดงของผู้ป่วย
ซีด
น้ำหนักลด
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
มีเลือดออกทางทวารหนัก
อุจจาระอาจมีสีคล้ำดำแดง แดงสด อาจมีมูกปน
สาเหตุ
ทฤษฎี
มีประวัติรับประทานอาหารไขมันสูง โปรตีนสูงโดยเฉพาะเนื้อสัตว์ ได้อาหารที่มีกากใยน้อยเป็นประจำทำให้มีอุจจาระค้างอยู่ในลำไส้นาน
ดื่มสุรา สูบบุหรี่
เคยเป็นโรคลำไส้อักเสบบ่อยๆ
ได้รับการฉายรังสีบริเวณอุ้งเชิงกราน
ครอบครัวมีประวัติเป็นเนื้องอกชนิด Familial adenomatous polyposis พบในคนที่มีอายุมากกว่า 85 ปี มีมะเร็งของ Endometrial, Ovarian หรือเต้านม (ในผู้หญิง)
มีประวัติคนในครอบครัวเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่
กรณีศึกษา
มีประวัติรับประทานอาหารไขมันสูง โปรตีนสูงโดยเฉพาะเนื้อสัตว์ >> ผู้ป่วยชอบรับประทานหมูสามชั้นและไก่ไทยเป็นประจำทุกวัน และไม่ชอบรับประทานปลา, ได้อาหารที่มีกากใยน้อยเป็นประจำ >> ญาติให้ข้อมูลว่าผู้ป่วยไม่รับประทานผัก
เคยดื่มสุราและสูบบุหรี่ (เลิกมาประมาณ 20 ปีแล้ว)
กิจกรรมการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการระงับความรู้สึกตัว
S : -
O: Pt หลังผ่าตัด Sigmoidectomy ระงับความรู้สึกชนิด GA
ประเมิน MEWS
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินภาวะเเทรกซ้อน
3.1 ทางเดินหายใจอุดกั้น
3.2 ภาวะช็อคจากการเสียเลือด
3.3 ความดันโลหิตต่ำ
3.4 คลื่นไส้ อาเจียน
ดูเเลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา
กระตุ้น Pt deep breathing และ effective cough
Keep warm
7.ดูแลให้รับยาเเก้ปวดตามแผนการรักษา
เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากมีแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง
S : -
O : มีแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง
1.ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาล
3.ประเมินอาการปวด บวม แดง ร้อน บริเวณแผลผ่าตัด
4.การทำแผลทุกครั้งให้ใช้หลักปราศจากเชื้อ
5.ดูแลให้ได้รับอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ
6.ทำความสะอาดร่างกายและสิ่งแวดล้อมให้สะอาด
7.ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
8.ดูแลให้ได้รับยาฆ่าเชื้อตามแผนการรักษ
2.ประเมิน vital sign
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด
S : ผู้ป่วยบอกว่า "ปวดแผล" pain score 4 คะแนน
O : มีแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง
1.ประเมินความปวดโดยการซักถาม
2.สอนให้ใช้หมอนประคองบริเวณขณะเคลื่อนไหว
3.ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
4.สอนและกระตุ้นให้ผู้ป่วยใช้วิธีการบรรเทาปวดโดยวิธีที่ไม่ใช้ยา
การรักษา
ทฤษฎี
การผ่าตัด โดยตัดเอาก้อนมะเร็งออกเพื่อไม่ให้เกิดภาวะลำไส้อุดตัน และระงับอาการ ตัดต่อมน้ำเหลือบริเวณใกล้เคียงออก หากตัดมะเร็งออกไม่ได้ จะทำ Colostomy ซึ่งเป็นการผ่าตัดเปิดลำไส้ให้อุจจาระออก หรือรักษาตามอาการ เช่น ให้เลือดเพื่อทดแทนการเสียเลือด ให้ยาแก้ปวด ยาเคมีบำบัด เพื่อให้เนื้องอกยุบลง เป็นต้น
กรณีศึกษา
Sigmoidectomy with polypectomy
ทำในกรณีที่ก้อนเนื้องอกอยู่ในตำเเหน่งลำไส้ใหญ่คดเคี้ยวตั้งแต่ส่วน Decensing colon ส่วนปลายและ singmoid colon ต่อลำไส้ใหญ่ Descending colon เข้าตรงกับลำไส้ตรงส่วนบน (upper rectum )
ข้อบ่งชี้
ติ่งเนื้อขนาดใหญ่กว่า 10 cms
2.ติ่งเนื้ออยู่ในลำไส้ใหญ่ด้านขวา แม่จะมีขนาดเล็กกว่า 1 cms ควรตัดออก
3.ติ่งเนื้อลำไส้ใหญ่ด้านซ้ายและไม่ได้มีลักษณะสงสัยมะเร็ง
ติ่งเนื้อขนาดเล็กกว่า 5 cms บริเวณ ลำไส้ใหญ่ส่วน rectum และ sigmoid
การรักษาที่ได้รับ
Order for one day
15/กพ/63
Admit
G/M PRC 2 u v drid 4 hr /u
CXR ก่อน admit EKG 12 Lead at ward
Acetar 1000 ml × 3 v 120 ml /hr
Retain Foley's catheter
NPO
นัด CT Whole abdomen
Order for Continuation
Record I/O
16/กพ/63
Order for one day
Acetar 1000 ml × 3 v 120 ml/hr
Tramol 1 amp v prn for pain q 8 hr
DTX , HCT ถ้า HCT < 30 % ให้ PRC 1 U. DTX > 250 mg % ให้ RI 10 U
เวลา 09:00 น. DTX = 102 mg % HCT = 30%
Set Explor lap
G/M for PRC 2 U , CEH
Cefoxin 1 gm v
Post op order for sigmoidectomy
Nss 1000 ml × 3 v 120 ml / hr
Tramol 1 amp v prn for pain q 8 hr
Pethidine 25 mg v prn for pain
Order for Continuation
กินน้ำได้
Record I/O
Foley's catheter c bag
Cefoxin 1 gm v q 8 hr
17 กพ 63
Order For one day
off foley's cath
Liquid Diet
NSS 1000 ml x 3 vein drip 100 ml/hr
Tramol 1 amp vein drip for pain q 8 hr
Pethidine 25 mg vein drip prn for pain q 8 hr
18 กพ 63 Order For oneday
Off I/O
IV หมด off ได้
tramol 1 amp vein drip prn for pain q 8 hr
การพยาบาล Pre-op
เตรียมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
1.1 เตรียมผิวหนังก่อนการผ่าตัด
1.2 ดูแลความสะอาดร่างกาย
1.3 NPO
2.สอนการออกกำลังกาย
2.1 deep brea thing
2.2 ออกกำลังขาทั้ง 2 ข้าง ป้องกัน deep vein thrombosis
2.3 effective Cough
2.4 พลิกตะเเคงตัว ซ้าย-ขวา
Early ambulation
ดูแลการให้เซ็นใบยินยอมการรับการรักษา
ดูแลการได้รับยา pre-medication
จองเลือด 2 unit
ทำเตียงแบบ ether bed
การพยาบาล Post-op
1.ประเมินความรู้สึกตัวหลังผ่าตัด
2.ประเมินvital signs และ ออกซิเจน
3.ประเมินแผลผ่าตัดและน้ำปัสสาวะ
4.ประเมินภาวะHypovolemic shock
5.ดูแลkeep warm
6.ดูแลการให้ยาตามแผนการรักษา
7.ป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลังจากการผ่าตัด จากการได้รับยาระงับความรู้สึกแบบ GA
8.ประเมินความปวด Pain score
ดูแลให้ได้รับ O2 cannula 3 plm หลังจากออกจากห้องผ่าตัด
11 แบบแผนสุขภาพที่ผิดปกติ
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
S : "มีโรคประจำตัวเป็นเบาหวาน ความดัน ไขมันในเลือดสูง เป็นมา 7 ปี รักษาที่ รพ. ท่าตะโก รับยาสม่ำเสมอ ชอบดื่มน้ำอัดลมมาก ดื่มแทนน้ำ ดื่มวันละประมาณ 4 ขวด ชอบรับประทานหมูสามชั้นนึ่ง และชอบรับประทานอาหารรสจัด เปรี้ยว เผ็ด เค็ม"
O : - มีประวัติเป็นเบาหวาน มาประมาณ 7 ปี DTX (15 ก.พ. 63) = 102 mg/dL
มีประวัติเป็นความดันโลหิตสูงมาประมาณ 7 ปี BP เฉลี่ย 140/90 mmHg
มีประวัติเป็นไขมันในเลือดสูงมาประมาณ 7 ปี
V/S (17 ก.พ. 63) BP 133/78 mmHg, PR 110 /min, RR 18 /min, T 36.2 °C
BMI 20.55 kg/m2
มีโอกาสเกิดอันตรายจากภาวะความดันโลหิตสูง เนื่องจากผู้ป่วยมีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูงและไขมันในเลือกสูงมาก่อน
1.วัดและบันทึกผล V/S
2.ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษาในการควบคุมความดันโลหิตสูงและไขมันในเลือดสูง
3.ประเมินภาวะแทรกซ้อน การปวดศีรษะ ตาพร่ามัว มองภาพซ้อน คลื่นไส้ อาเจียน ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด แขนขาอ่อนแรง
4.จัดกิจกรรม ปละการพักผ่อนให้เหมาสม
5.แนะนำเรื่องอาหาร
6.แนะนำเรื่องการเปลี่ยนท่าช้าๆ
มีโอกาสเกิดอันตรายจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง เนื่องจากผู้ป่วยมีประวัติเป็นโรคเบาหวานมาก่อน
1.ตรวจวัดระดับน้ำตาลทุกวัน
2.ดูแลการได้รับยาตามแผนการรักษาควบคุมน้ำตาลในเลือดสูง
3.แนะนำเลือกและควบคุมอาหาร
4.ประเมินอาการหิวบ่อย ปัสสางะบ่อย หายใจหอบลึก ซึม หมดสติ
S : Pt บอกว่า กลับบ้านต้องทำตัวอย่างไรบ้าง
O : แพทย์ D/C วันที่ 19 ก.พ. 63
พร่องความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติดูแลตนเองเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การดูแลแผลแนะนำให้สังเกตความผิดปกติ
พักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอ
การออกกำลังกายให้เหมาะสมกับโรคและการผ่าตัด
4.การับประทานอาหารเป็นเนื้อสัตว์ ไข่ นม ผักใบเขียว ผลไม้ต่างๆ ยกเว้นผลไม้ดอง ดื่มน้ำมากๆ อย่างน้อยวันละ 2 ลิตร
การรับประทานยา
มาตรวจตามนัด แบะมาฟังผลตรวจชิ้นเนื้อ
การดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังการผ่าตัด
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
S : ผู้ป่วยบอกว่า "หลังจากออกมาจากห้องผ่าตัดยังไม่ถ่ายอุจจาระ มีอาการท้องอืม"
O : - bowel sound 5/min
ปัสสาวะหลังจากออกมาจากห้องผ่าตัด 100 ml
หลังออกจากห้องผ่าตัด แพทย์สั่ง NPO
แพทย์ให้ IV Fluid 5% D/N/2 1000 ml drip 120 ml/hr
เสี่ยงต่อภาวะท้องผูก เนื่องจากการเคลื่อนไหวร่างกายลดลง
1.ประเมินการถ่ายอุจจาระทุกวัน
2.กระตุ้นให้ได้รับน้ำมากๆ 2000 ถึง 3000 cc/วัน
3.แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากมาก เช่น ผัก ผลไม้ ฯลฯ
4.สังเกต บันทึกลักษณะ และระยะเวลาในการขับถ่าย
5.ฟัง Bowel sound (วันละ 1-2 ครั้งเช้า-เย็น)
การตรวจวินิจฉัย
กรณีศึกษา
การตรวจร่างกาย
Abdomen : flat contour , normal bowel sound , soft , not tenderness
Live/Spleen : can't be palpated , no inguinal , lymphadenopathy
การตรวจพิเศษ
CT of the Whole Abdomen
Circumferential mass at sigmoid/desecending colon , size 6.7 cm. in width and 8.2 cm. in long axis, which adjacent fat stranding with adjacent at least 5 pericolonic lymhadenopahty , size up to 0.8 cm , suggestive of CA Colon.
ทฤษฎี
การวินิจฉัยโรค
จากการซักประวัติและการตรวจร่างกาย
ใช้นิ้วตรวจทางทวารหนัก
ส่องกล้อง Proctosigmoidoscopy หรือ Colonoscopy , Barium enema
ทำ Biopsy ( ตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ )
ตรวจ CT Scan
ตรวจเลือดหา Carinoembryonic antigen ( CEA )
ตรวจดูการทำงานของตับ
ตรวจระบบทางเดินปัสสาวะเพื่อดูการกระจายของมะเร็ง
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญ
S : " รับประทานอาหารได้น้อย อ่อนเพลีย ตอนนี้ยังไม่ถ่ายอุจจาระ"
O : - ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดแบบ sigmoidectomy with Polypectomy
bowel sound 5 /min
มีอาการอ่อนเพลีย คอแห้ง กระหายน้ำ ริมฝีปากซีด ปากแห้ง
Lab Hb = 6.9 mg/dL , Hct = 22 %
ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย เนื่องจากมีการทำงานของลำไส้ลดลง
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับ IV Fluid
2.ประเมินอาการที่อาจเกิดจากการพร่องน้ำ และสารอาหารอย่างรุนแรง
3.แนะนำอาหารที่เหมาะสมกับโรค แนะนำการแบ่งอาหารเป็นมื้อละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
4.บันทึก I/O
5.ประเมิน bowel sound
6.กระตุ้นการออกกำลังกายบนเตียง เพิ่มการเคลื่อนไหวของลำไส้