Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสาน (ทฤษฎีการเรียนรู้ (ประเภทของการเรียนรู้…
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสาน
ผู้คิดค้น
กานเย
ทฤษฎีการเรียนรู้
ประเภทของการเรียนรู้
การเชื่อมโยงทางภาษา
เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษา แบบรับสิ่งเร้า-การตอบสนอง
การเรียนรู้ความเเตกต่าง
มองเห็นความเเตกต่างของสิ่งต่าง ๆ โดยเฉพาะวัตถุ
การเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง
เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองที่ต่อเนื่อง เป็นพฤติกรรมเกี่ยวกับการกระทำ การเคลื่อนไหว
การเรียนรู้ความคิดรวบยอด
ผู้เรียนสามารถจัดกลุ่มสิ่งเร้าที่มีความเหมือนหรือต่างได้ พร้อมทั้งขยายความรู้ไปยังสิ่งอื่นนอกจากที่เคยเห็นได้
การเรียนรู้สิ่งเร้า-การตอบสนอง
ผู้เรียนควบคุมพฤติกรรมได้ เนื่องจากได้รับเเรงเสริม
การเรียนรู้กฎ
เกิดจากการาวมความคิดรวบยอดสองอย่างขึ้นไป ตั้งเป็นเกณฑ์ขึ้น ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้แล้วนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ
การเรียนรู้สัญญาณ
นอกเหนืออำนาจจิตใจ
เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยอัตโนมัติ
การเรียนรู้การเเก้ปัญหา
เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวผู้เรียน
สมรรถภาพการเรียนรู้
ทักษะเชาวน์ปัญญา
ความสามารถในการคิดหาเหตุผล โดยใช้ข้อมูล ประสบการณ์ ความรู้
ทักษะที่ควรฝึก
ความสามารถใช้คำจำกัดความคิดรวบยอด เเก้ปัญหา
ความสามารถในการจำแนก ความคิดรวบยอด
ยุทธศาสตร์ในการคิด
เป็นกระบวนการภายในสมอง
ควบคุมการรับรู้ การเลือกรับรู้ การเเปลความ การดึงความรู้
สามารถดึงประสบการณ์เดิมมาใช้ได้อย่างสร้างสรรค์
สมรรถภาพในการเรียนรู้ข้อเท็จจริง
ความสามรถในการเรียนรู้ข้อเท็จจริง โดยอาศัยการจำและการระลึกได้
ทักษะการเคลื่อนไหว
ความชำนาญในการปฏิบัติ ควรคล่องเเคล่วและถูกต้อง
เจตคติ
เป็นความรู้สึกนึกคิดของบุคคลต่อสิ่งต่าง ๆ มีผลต่อการตัดสินใจที่จะเลือกกระทำหรือไม่
หลักการจัดการศึกษา
จัดให้สภาวะภายนอกตัวผู้เรียนสอดคล้องกับกระบวนการภายใน ซึ่งเกิดขึ้นภายในสมองของคนเรา ทำงานคล้ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสอน 9 ขั้น
ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม่
ขั้นที่ 5 ให้เเนวทางการเรียนรู้
ช่วยให้ผู้เรียนทำกิจกรรมด้วยตนเอง ก็เสนอเเนะวิธีการทำและแหล่งค้นคว้า ให้ผู้เรียนลองคิดเอง
ขั้นที่ 3 กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น
ขั้นที่ 6 ให้ลงมือปฏิบัติ
สามารถเเสดงพฤติกรรมตามจุดประสงค์
ขั้นที่ 2 เเจ้งจุดประสงค์
ขั้นที่ 7 ให้ข้อมูลป้อนกลับ
ครูให้ข้อมูลผลการปฏิบัติกิจกรรมหรือพฤติกรรมที่ผู้เรียนเเสดงออกว่าถูกต้องหรือไม่
ขั้นที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์
ใช้ข้อสอบ แบบสังเกต การตรวจผลงาน การสัมภาษณ์
ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความเเม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้
เป็นการสรุป ทบทวนสิ่งที่เรียน
เป็นกิจกรรมเพิ่มความรู้ แบบฝึกหัด
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ
ให้ผู้เรียนสนใจในบทเรียน
ซักถาม
ทายปัญหา
ใช้วิธีสนทนา
เกิดจาก
พฤติกรรมนิยม
พุทธินิยม