Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(การเขียนย่อหน้า (ขั้นตอนการเขียนย่อหน้า (ขั้นที่ ๔ เขียนโครงเรื่องเป็นประ…
การเขียนย่อหน้า
ขั้นตอนการเขียนย่อหน้า
ขั้นที่ ๔ เขียนโครงเรื่องเป็นประโยคขยายความ
ขั้นที่ ๕ เรียบเรียงย่อหน้า
ขั้นที่ ๓ เขียนโครงเรื่อง
ขั้นที่ ๒ แปรความคิดเป็นประโยคใจความสำคัญ
ขั้นที่ ๖ ทบทวนเพื่อแก้ไขหรือเพิ่มเติม
ขั้นที่ ๑ คิดเรื่องที่จะเขียน
รูปแบบของย่อหน้า
ประโยคใจความสำคัญอยู่ท้ายย่อหน้า
ประโยคใจความสำคัญอยู่กลางย่อหน้า
ประโยคใจความสำคัญอยู่ต้นย่อหน้า
ประโยคใจความสำคัญอยู่ต้นและท้ายย่อหน้า
ไม่ปรากฏใจความสำคัญในย่อหน้า
การเขียนขยายความในย่อหน้า
การอธิบายให้ราบละเอียด
การให้เหตุผล
ให้คำจำกัดความ
การยกตัวอย่าง
การเปรียบเทียบ
ประเภทของย่อหน้า
ย่อหน้าเชื่อม
ย่อหน้าสรุป
ย่อหน้าเนื้อเรื่อง
ย่อหน้าคำนำ
ความหมาย ความสำคัญและประโยชน์ของการย่อหน้า
ข้อความที่ประกอบด้วยประโยคที่มีใจความสำคัญประการเดียวและมีส่วนขยาย
เป็นเครื่องหมายเริ่มใจความสำคัญใหม่
ประโยชน์
ช่วยลำดับเรื่อง เนื้อหา
มีเวลาพักสายตา พักสมอง
บรรจุใจความหลักที่ผู้เขียนต้องการเสนอ
เข้าใจเนื้อหาเร็วขึ้น
ลักษณะของย่อหน้าที่ดี
สัมพันธภาพ
มีเอกภาพ
องค์ประกอบของย่อหน้า
การเขียนอ้างอิง
ความหมายและความสำคัญของการอ้างอิง
การระบุแหล่งที่มาของข้อมูลที่ผู้เขียนนำมาประกอบในงานเขียนเพื่อให้ทราบว่ามาจากแหล่งข้อมูลใด
เพื่อการให้เกียรติและตระถึงลิขสิทธิ์ของเจ้าของข้อมูลเดิม
ผู้อ่านสามารถค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลที่อ้างอิงไว้
รูปแบบการอ้างอิงในเนื้อเรื่อง
การอ้างอิงแบบนาม-ปี
การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ
การอ้างอิงแหล่งข้อมูล
การอ้างอิงภายในเรื่อง
อัญประภาษ
อัญประภาษตรง
อัญประภาษรอง
การอ้างอิงตอนท้ายเรื่อง
การระบุชื่อผู้แต่งในรายการอ้างอิงในเนื้อเรื่อง
การอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่มีผู้อื่นอ้างอิงไว้แล้ว
การอ้างอิงข้อมูลจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การเขียนโครงเรื่อง
วิธีการวางโครงเรื่อง
การลำดับตามเวลา
การลำดับตามเหตุผล
การลำดับตามขั้นตอน
การลำดับด้วยการเปรียบเทียบ
ความสำคัญของโครงเรื่อง
มีสัดส่วนและน้ำหนักที่เหมาะสม
เข้าใจเนื้อหาได้ง่ายและลำดับใจความสำคัญได้ถูกต้อง
ดำเนินไปตามลำดับ
ช่วยจัดระเบียบความคิด
ประโยขน์ของการเขียนโครงเรื่อง
ทำให้งานมีเอกภาพ
ช่วยงานมีสัมพันธภาพ
ช่วยให้ผู้เขียนจัดแนวคิดได้ตรงกับเรื่องที่จะเขียน
ประเภทของโครงเรื่อง
โครงเรื่องแบบหัวข้อ
โครเรื่องแบบประโยค
ความรู้เกี่ยวกับการเขียน
ประเภทของการเขียนที่ควรรู้
นิยามของการเขียน
ประเภทของการเขียน
ศิริพร ลิมตระการ
ประเภทสารคดี
ประเภทวิชาการ
ประเภาทข่าวสารและข้อมูล
ประเภทบันเทิง
ผู้รู้บางส่วน
บันเทิงคดี
สารคดี
สนิท ตั้งหวี
การเขียนไม่เป็นแบบแผน
การเขียนเรื่องสั้น
การเขียนบทละครพูด
การเขียนบทสนทนา
การเขียนสารคดี
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม
การเขียนร้องกรองร่วมสมัย
การเขียนแนะนำหนังสือ
การเขียนกลอนเปล่า
การเขียนที่เป็นแบบแผน
การเขียนเรียงความ
การเขียนบทความ
การเขียนรายงานทางวิชาการ
การบันทึกเสนอผู้บังคับบัญชา
การเขียนรายงานการประชุม
การเขียนจดหมาย
ข้อควรคำนึงบางประการเกี่ยวกับการใช้ภาษาเขียนงานทางวิชาการ
ความถูกต้อง
ระดับภาษา
อ่านเข้าใจง่าย
ตรงไปตรงมา
ถ้อยคำกระชับรัดกุม
การเขียนวิเคราะห์ สังเคราะห์
การจัดลำดับความคิด
การเลือกสรรความคิด
การจัดหมวดหมู่ความคิดของเรื่อง
การวิเคราะห์ความคิด
การจัดลำดับความคิด
การเขียนงานทางวิชาการ