Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อิทธิพลของภาวะผู้นำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่…
อิทธิพลของภาวะผู้นำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
-
2.วัตถุประสงค์
1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำใฝ่ บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดี ขององค์การ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของภาวะผู้นำใฝ่บริการของ หัวหน้าหอผู้ป่วยต่อประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้
ของพยาบาลวชิาชพีโรงพยาบาลพระมงกฎุเกลา้ ทงั้ทางตรง และทางอ้อมผ่านพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของ องค์การ
3.กลุ่มตัวอย่าง
พยาบาลวิชาชีพ ระดับปฏิบัติการที่มีสังกัดและปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรง พยาบาลพระมงกุฎเกล้า เป็นเวลา 1 ปีขึ้นไป รวมจำนวน ประชากรทั้งหมด 500 คน
-
-
6.วิเคราะห์ข้อมูล
สถติทิใี่ชใ้นการวเิคราะหข์อ้มลู ไดแ้ก ่คา่เฉลยี่ สว่น เบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ PHI (φ) และตัวแบบสมการ โครงสร้าง ดัชนีความเหมาะสม (Fit Indices)
-
8.ผลวิจัย
ผลการวิจัยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตได้ระหว่าง 0.270 - 0.845 และมีนัยสำคัญทุกตัวแปร จากการวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้าง พบว่าภาวะผู้นำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็น สมาชิกที่ดีขององค์การอย่างมีนัยสำคัญและมีค่าความแปรปรวนที่ถูกทำนายโดยภาวะผู้นำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วย ร้อยละ 24.1 นอกจากนั้นภาวะผู้นำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยมีอิทธิพลทางตรงต่อประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการ รับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า อย่างมีนัยสำคัญ และอิทธิพลทางอ้อมผ่านพฤติกรรมการเป็น สมาชิกที่ดีขององค์การอย่างมีนัยสำคัญและมีค่าความแปรปรวนที่ถูกทำนายโดยภาวะผู้นำใฝ่บริการของหัวหน้าหอผู้ป่วย ร้อยละ 79.90 สุดท้ายพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การมีอิทธิพลทางตรงต่อประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัย สำคัญ
-
10.ข้อเสนอแนะ
- ควรศึกษาถึงรูปแบบของภาวะผู้นำและรูปแบบ ของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การที่เหมาะ สมในโรงพยาบาลกองทัพบก รวมทั้งศึกษาองค์ประกอบที่ เหมาะสมในแต่ละรูปแบบของภาวะผู้นำ และรูปแบบของ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ
- ควรมีการศึกษาซ้ำในกลุ่มประชากรเดิม ในช่วง ระยะเวลาประมาณ 3-5 ปีข้างหน้า ซึ่งเป็นการศึกษาแบบ Longitudinal Design ซึ่งจะมีตัวแปรด้านเวลาเข้ามา เกี่ยวข้อง โดยเป็นการทดสอบความน่าเชื่อถือและความ เที่ยงตรง ของตัวแบบตามทฤษฎีหรือตัวแบบภายใต้บริบท ผ่านกาลเวลา และการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อ
- ในการวิจัยครั้งต่อไปควรศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผล ต่อประสิทธิผลขององค์การนอกเหนือจากปัจจัยภาวะผู้นำ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ อันได้แก่ ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ เป็นต้น
-