Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Subdural hematoma (SDH) เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมอง (สาเหตุ…
Subdural hematoma (SDH)
เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมอง
ความหมาย
ภาวะที่มีเลือดออกระหว่างเนื้อสมองกับเยื่อหุ้มสมองชั้น Dura ก้อนเลือดเมื่อโตขึ้นก็จะกดสมองและทำให้เกิดอาการความดันในสมองเพิ่ม
ชนิด
(Acute subdural hematoma) เกิดทันทีเมื่อได้รับบาดเจ็บอุบัติเหตุ 24 - 48 ชม.เกิดเร็วและอาการแย่ทันที
(Subacute subdural hematoma) เกิด 48 ชั่วโมง -2 สัปดาห์ หลังบาดเจ็บอุบัติเหตุ ส่วนใหญ่จะหมดสติในตอนแรกและค่อยดีขึ้น ต่อมาอาการแย่ลงรูม่านตาขยาย หนังตาตก
(Chronic Subdural Hematoma) เกิดภายหลังมากกว่า 20 วันหรือหลังการได้รับบาดเจ็บ จะพบบ่อยในผู้สูงอายุ
อาการ
(Acute subdural hematoma)
อาการอ่อนแรง
ปวดศีรษะ
ชัก ซึมลง
(Chronic Subdural Hematoma)
ปวดศีรษะ
สับสน หรือโคม่าหมดสติ
ความจำเสื่อม
คลื่นไส้อาเจียน
อ่อนแรงแขนขาหรือใบหน้าครึ่งซีก
สาเหตุ
อุบัติเหตุที่ศีรษะอย่างรุนแรง
ผู้ที่หกล้มบ่อยๆ
ผู้ที่ดื่มสุราเรื้อรัง
รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติ
การประเมิน neuro signs
CT Scan
MRI Scan
การรักษา
subdural hematoma เรื้อรัง
เป้าหมายของการรักษาคือคุมอาการ และป้องกันสมองมิให้เสียหาย
มีอาการชักให้ใช้ยากันชัก
หากมีสมองบวมก็สามารถให้ยาลดการบวมการสมอง
การผ่าตัด
Craniotomy
โดยการเจาะกระโหลกศีรษะบริเวณที่มีการคั่งของเลือดมากที่สุด เพื่อเอาเลือดที่คั่งออก และ หยุดการไหลของเลือด
Craniectomy
เป็นการผ่าตัดเอากระดูกกระโหลกออกเพื่อเอาเลือดออก และลดความดันของสมอง
Burr holes คือการเจาะรูและใส่สายเพื่อดูดเอาเลือดออก
ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัด
ทำในรายที่มีชั้นเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองหนามากกว่า 10 มม.
ก้อนเลือดนั้นมีการกดเบียด
ถ้าผู้ป่วยมีระดับการรู้สึกตัวแย่ในระดับ GCS น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 หรือรูม่านตาขยายโตมากก็ควรรีบตัดสินใจผ่าตัดในทันที
ชนิดของการเจ็บป่วยในผู้ป่วย
Acute to Subacute subdural hematoma เนื่องจากผู้ป่วยให้ประวัติว่า 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยบ่นปวดศีรษะ แขนขาไม่มีแรง แต่ยังพอเดินไหว รับประทานยาแก้ปวด อาการไม่ทุเลา 11 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลปวดศีรษะไม่มาก แต่รู้สึกแขนขาอ่อนแรง เดินไม่ไหว ญาติจึงนำส่งโรงพยาบาล
อาการและอาการแสดงในผู้ป่วย
ปวกศีรษะมาก
มีอาการสับสน
อาการอ่อนแรง ซึม
สาเหตุ
ผู้ป่วยเป็นผู้สูงอายุ อายุ 65 ปี
ผู้ป่วยดื่มสุรา วันละ 1/2 ของแก้ว
การตรวจวินิจฉัย
CT brain พบ Acute to subactute SDH (2.8 cm. in thickess) at at right cerebral convexity
ประวัติอายุ 65 ปี ดื่มสุราและปฏิเสธการสูบบุหรี่หรี
ผู้ป่วย E4V5M6 pupil 2 mm. RTL BE
การรักษาที่ผู้ป่วยได้รับ
ได้รับการผ่าตัด Burr Hole with Irrigation Rt วันที่ 22/2/63 คือการเจาะรูและใส่สายเพื่อดูดเอาเลือดออกบริเวณขวา Total blood loss=10 ml. มีแผลผ่าตัดที่ศีรษะด้านขวาไม่มีเลือดซึม
กรณีศึกษา
ข้อมูลทั่วไป ผู้ป่วยชายไทยวัยสูงอายุ อายุ 65 ปี
อาการสำคัญ : ปวดศีรษะมาก แขนขาอ่อนแรง 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
อาการเจ็บป่วยปัจจุบัน : 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล ปวดศีรษะมาก ไม่ได้ไปรักษาที่ไหน 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล แขนขาอ่อนแรง ซึมหลับ เพ้อ ญาติจึงนำส่งโรงพยาบาลอู่ทอง แพทย์ทำการ X- ray และขอส่งต่อมาโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราชเพื่อ CT Brain พบ Subdural hematoma เพื่อจึงให้ Admit เพื่อทำการผ่าตัด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงเนื่องจากได้รับบาดเจ็บบริเวณศีรษะ
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดบริเวณแผลผ่าตัด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากมีแผลเปิดสู่ภายนอก
4.เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากเวียรศีรษะ