Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ANC (ตรวจร่างกายและตรวจครรภ์ (ตรวจร่างกายทั่วไป (ไม่มีภาวะซีด,…
ANC
ตรวจร่างกายและตรวจครรภ์
ตรวจร่างกายทั่วไป
ไม่มีภาวะซีด
ไม่มีอาการบวม
สุขภาพช่องปากปกติ ไม่มีฟันผุ
ต่อมไทรอยด์ปกติ
ความดันโลหิต 101/74 mmHg
Pulse 102 bpm
การตรวจปัสสาวะ
Albumin: Negative
Sugar: Negative
ตรวจครรภ์
ฟัง
FHS 140 bpm
ดู
Linea nigra
Striae gravidarum สีชมพู
คลำ
Fundal grip: 3/4>o 34 cms
Umbilical grip: ROT
Pawlik grip: Vx. Presentation
Bilateral inguinal grip: HF
เต้านม
หัวนม ลานนมปกติ
ปัญหาที่พบ
GDMA1
อายุ >30 ปี
BMI > 27
BS 50gm >140mg/dl
OGTT ผิดปกติ 1 ค่า
FBS < 95 mg/dl
2 hr pp < 120 mg/dl
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ประเมินติดตามระดับน้ำตาลในเลือด
แนะนำการควบคุมอาหาร
เฝ้าระวังการเกิดภาวะ DKA โดยสังเกตอาการดังนี้ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย กระหายน้ำมาก ปัสสาวะมากกว่าปกติ
แนะนำให้มาตรวจครรภ์ตามนัดทุกครั้งเพื่อประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ติดตามประเมินความดันโลหิตทุกครั้งที่ฝากครรภ์ เนื่องจากมีความเสี่ยงต่อการมีความดันโลหิตสูง
เฝ้าระวังการเกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด
แนะนำการออกกำลังกายสม่ำเสมอ เช่น การเดิน การว่ายน้ำ
แนะนำนับการดิ้นของทารก ถ้าไม่ดิ้นหรือดิ้นน้อยลงควรรีบมาพบแพทย์
weight gain
2 สัปดาห์ที่ผ่านมา น้ำหนักเพิ่มขึ้น 1 กิโลกรัม/สัปดาห์
น้ำหนักเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 4.3 กิโลกรัม
ประเมินน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นทุกครั้งที่มาฝากครรภ์
น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 7-11.5 กิโลกรัม
ในไตรมาส 3 น้ำหนักเพิ่มขึ้น 0.5-0.7 กิโลกรัม/สัปดาห์
ความไม่สุขสบายในไตรมาส 3
อึดอัดแน่นท้อง
รับประทานอาหารครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูงเพราะย่อยยาก
ไม่นอนราบหลังรับประทานอาหาร
เคี้ยวอาหารให้ละเอียด
ริดสีดวงทวาร
รับประทานอาหารที่มีกากใย
ดื่มน้ำมากๆ ประมาณ 8-10 แก้วต่อวัน
ฝึกการขับถ่าย
ห้ามเบ่งถ่าย
แช่ก้นในน้ำอุ่น
ขาดความตระหนักในการดูแลตนเอง
งดการมีเพศสัมพันธ์ในไตรมาสที่ 3 ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
พักผ่อนให้เพียงพอ นอนกลางคืนวันละ 8-10 ชั่วโมง งีบหลับกลางวัน
แนะนำการกระตุ้นพัฒนาการทารก
การได้ยิน : ฟังเพลง ดนตรี
ระบบประสาทรับความรู้สึก : ลูบหน้าท้อง ลูบน้ำอุ่น น้ำเย็น ลูบเป็นวงกลมช้าๆ
การเคลื่อนไหว : นั่งเก้าอี้โยก
การมองเห็น : เอาไฟฉายส่องในที่มืด
แนะนำการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 เดือน
อาการที่ควรรีบมาโรงพยาบาลทันที
เจ็บครรภ์จริง เจ็บจากบั้นเอว หลัง ร้าวมาหน้าท้อง เจ็บเป็นจังหวะ พักแล้วไม่หาย
mucous bloody show
ถุงน้ำคร่ำรั่วหรือแตก
เลือดออกทางช่องคลอด
ไข้
ปวดหัว ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่
ทารกดิ้นน้อยลง
แนะนำการใช้สมุดสุขภาพแม่และเด็ก การบันทึกการนับลูกดิ้น การติดตาม Vallop curve เบอร์ติดต่อเมื่อมีกรณีฉุกเฉิน
แนะนำการฉีดวัคซีนบาดทะยักครั้งที่ 3
ข้อมูลทั่วไป
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 61.5 กิโลกรัม
ส่วนสูง 156 เซนติเมตร
BMI = 27 kg/m2 (overweight)
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 33 ปี
G1P0-0-0-0
GA 36 weeks 3 days by U/S
การได้รับวัคซีนบาดทะยัก
ครั้งที่1 24 ตุลาคม 2562
ครั้งที่ 2 24 พฤศจิกายน 2562
ครั้งที่ 3 ยังไม่ได้รับ
นศพต.พิชญาภรณ์ แก้วสามสี เลขที่ 36 ชั้นปีที่3