Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การหายใจ (ความหมายของระบบหายใจ (ระบบควบคุม (ระบบประสาท (สมอง, ไขสันหลัง,…
การหายใจ
ความหมายของระบบหายใจ
ระบบควบคุม
ระบบประสาท
สมอง
ไขสันหลัง
เส้นประสาท
ระบบต่อมไร้ท่อ
ไขสันหลัง
นำสัญญาณประสาทจากสมองไปยังกล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่หายใจ
ไทรอยด์ฮอโมน
ควบคุมการหายใจระดับ Cell
การคายคาร์บอนไดออกไซด์ทั่วร่างกาย
ระบบช่วยแลกเปลี่ยนอากาศภายนอกและภายในปอด
กล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่หายใจ
กระบังลม
กล้ามเนื้อที่อยุ่ระหว่างซี่โครง
ทำหน้าที่
ขยายทรวงอกและปอด
ทำให้อากาศเข้าสู่ปอดขณะหายใจเข้า
ลดขนาดทรวงอกและปอด
ทำให้อากาศเคลื่อนออกจากปอดขณะหายใจออก
เยื้อหุ้มปอด
เยื่อหุ้มปอดชั้นใน
เยื่อหุ้มปอดชั้นนอก
เยื่อหุ้มปอดทั้งในและนอกมีลักษณะติดเป็นผืนเดียวกัน
เมื่อหายใจเข้าจะดึงเยื่อหุ้มปอดชั้นนอกไปด้วย
ทำให้เกิดช่องว่างระหว่างชั้นเยื่อหุ้มปอด
เมื่อทรวงอกมีขนาดลดลง
ความดันในปอดสูงกว่าความดันบรรยากาศ
อากาศในปอดเคลื่อนออกจากปอดขณะหายใจออก
ระบบนำส่งก๊าซ
ระบบหายใจส่วนทางผ่านของอากาศ
ทำหน้าที่
นำอากาศเข้าสู่ปอด
กำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามากับอากาศที่หายใจ
ช่วยให้อากาศอุ่นและชื้นขึ้น
ประกอบด้วย
จมูก
หลอดคอ
กล่องเสียง
หลอดลม
ขั้วปอด
ซ้าย
ขวา
หลอดลมฝอยส่วนปลาย
ระบบไหลเวียนเลือด
ประกอบด้วย
หลอดเลือด
เลือด (เลือดแแดงสำคัญมาก)
ทำหน้าที่
นำเลือดแดงที่มีออกซิเจนสูงไปอวัยวะต่างๆ
นำเลือดดำที่มีคาร์บอนไดออกไซด์สูงจาก Cell และเนื้อเยื่อ กลับมาสู่ปอด
ระบบแลกเปลี่ยนก๊าซ
ถุงปอด
ประกอบด้วย
หลอดลมฝอยที่แลกเปลี่ยนก๊าซ
ท่อถุงลม
ถุงลม
ถุงลมปอด
โครงสร้างภายในปอดทั้งสองข้าง
ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนแะคาร์บอนไดออกไซด์
ระบบหายจส่วนแลกเปลี่ยนก๊าซ
หลอดเลือดฝอย
เซล์ทั่วร่างกาย
ทำหน้าที่หายใจระดับเซลล์มากขึ้น
ระบบควบคุมการหายใจ (สมอง ไขสันหลัง และเส้นประสาท)
สาเหตุ
มีความผิดปกติที่ศูนย์ควบคุมการหายใจในสมองส่วนเมดัลลาและพอนส์
เลือดออกในสมอง
สมองบวม
เนื้องอด
ความดันในสมองเพิ่มขึ้น
การได้รับสารกดการทำหน้าที่ของสมอง
ยาสลบ
ยานอนลับ
ยาแก้ปวด (มอร์ฟีน)
สารกระตุ้นการทำหน้าที่ของสมอง
แอมเฟตามีน
สามรถทำให้ระบบหายใจทำหน้าที่ผิดปกติ
การระบายอากาศบกพร่อง
เกิดภาวะหายใจล้มเหลว
ความบกพร่องในการป้องกันระบบหายใจ
การไอ
การสำลัก
โรคอัมพาต
การบาดเจ็บบริเวณไขสันหลังส่วนคอ
คำสั่งจากระบบประสาทส่งผ่านไปสู่กล้ามเนื้อหายใจไม่ได้
กลไก
ศูนย์ควบคุมการหายใจ
มีการเพิ่ม ลด และหยุก การทำงานของสัญญาณประสาท ที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ ระหว่างซี่โครงและกล้ามเนื้อกระบังลม
วงจรหายใจถูกรบกวน
อัตราการหายใจผิดปกติ
มีความบกพร่องในการไอและสำลัก
อาการ
ลักษณะการหายใจ
หายใจช้า
เกิดจากศูนย์หายใจถูกกดเอาไว้
สมอง
สารพิษ
ความดันในสมอง
ถ้ารุนแรงมากจะหยุดหายใจ
หายใจลึก
หายใจลึกสม่ำเสมอ
อัตราการหายใจ
ปกติ
ช้า
เร็ว
มักพบในภาวะกดรเมทาบอลิซึม
ถอนหายใจ
หายใจลึกและสม่ำเสมอ
อัตราการหายใจ
ช้า
เร็ว
ปกติ
หายใจไม่สม่ำเสมอ
หายใจมีความปกติทั้งความลึก อัตรา จังหวะ อาจมีหายใจเร็วร่วมด้วย
เกิดจากคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดต่ำ
ไม่กระตุ้นศูนย์หายใจ
เมื่อกลั้นหายใจจะทำให้คาร์บอนไดออกไซด์คลั่ง
ทำให้กระตุ้นให้หายใจลึก เพื่อขับคาร์บอน เป็นวงจรการหายใจช้า เร็ว ช้า และหยุดหายใจอย่างต่อเนื่อง
พบในโรคทางสมอง หัวใจซีกซ้ายล้มเหลว
การไอ
เป็นการกำจัดสิ่งแปลกปลอมและการระคายเคืองในระบบหายใจ
การไอถูกกระตุ้นบริเวณกล่องเสียง หลอดลม เยื่อหุ้มปอด เยื่อหุ้มหัวใจ
ทำให้ตัวรับการไอส่งกระแสประสาทไปยังเส้นประสาทเวกัส เข้าสู่ศูนย์การไอในสมองสวนเมดัลลา
ส่งคำสั่งให้หดตัวไปที่กล้ามเนื้อี่เกี่ยวข้องกับการหายใจ (กระบังลม กล่องเสียง หลอดลม)
ทำให้หดตัว แรงดันอากาศจึงเพิ่มขึ้น คลายตัวทันที เกิแรงดันสิ่งแปลกปลอมออกจากระบบหายใจ