Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 พัฒนาการวิชาชีพครู (การจัดระบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูในประเทศไทย,…
บทที่ 5 พัฒนาการวิชาชีพครู
การพัฒนาวิชาชีพครู
ยุคก่อนมีพระราชบัญญัติครูพุทธศักราช 2488
เริ่มตั้งแต่ได้มีพระราชโอการโปรดเกล้าฯให้จัดตั้งกรมศึกษาธิการปีพ.ศ.2430 การศึกษามีความก้าวหน้า ครูที่ไปศึกษาต่อต่างประเทศได้มาเปิดสอนที่ วิทยาทานสถานทุกวันพระ
มีการจัดตั้งสภาและประชุมครูขึ้นใช้ชื่อ สภาไทยาจารย์ ทำหนังสือพิมพ์สำหรับครูครั้งแรกชื่อหนังสือพิมพ์วิทยาจารย์พ.ศ.2445
กรมศึกษาธิการได้ตั้งสถานที่ประชุมและอบรมชื่อว่า สามัคยาจารย์สโมสนสถานและเปลี่ยนเป็น สามัคยาจารย์ปี พ.ศ. 2447 ตั้งที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
ยุครุ่งอรุณของวิชาชีพครู
วิชาชีพครูในยุคผันผวน เศรษฐกิจเสื่อมโทรม ไม่มีความก้าวหน้ จึงได้มีพระราชบัญญัตครู พ.ศ.2488 ให้มี คุรุสภา ทำหน้าที่แทนสามัคยาจารยสมาคม ให้ความเห็น นโยบายการศึกษาและวิชาการศึกษาทั่วไป ควบคุมจรรยาบรรณ วันัยและผลประโยชน์ ให้ความสำคัญกับบทบาทครู
ยุคแห่งความคิดและความพยายาม
ปี 2523 คุรุสภาจัดประชุมสัมนายกระดับมาตรฐานวิชาชีพครู ออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
ปี 2537 คุรุสภาพัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน 11 มาตรฐาน
ยุคทองของวิชาชีพครู
จัดระบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูมี 11 มาตรฐาน
จิตวิทยาสำหรับครู
หลักสูตรเพิ่ม
ภาษาและวัฒนธรรม
การจัดการเรียนรู้และการจัดการในห้องเรียน
ปรัชญาการศึกษาเพิ่ม
การวิจัยเพื่อการพัฒนา
ความเป็นครู
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสรเทศทางการศึกษา
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การประกันคุณภาพการศึกษา
คุณธรมมจริยธรรมและจรรยาบรรณ
การจัดระบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูในประเทศไทย
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
ครูสามัญ ครูวิสามัญ ครูกิตติมศักดิ์
ให้จัดตั้งสภาครู
เพิกถอนใล่อนุญาต กำหนดมาตรฐานวิชาชีพครู กำกับดูแลตามจรรยาบรรณวิชาชีพและพัฒนาวิชาชีพ
คุณวุฒิผู้มีสิทธิขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
ปริญญาตรี ทดลองสอนอย่างน้อย 1 ปี
หน้าที่ครู
พัฒนาผู้เรียน ต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
หลักการจัดระบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
การมีส่วนร่วมในการประเมิน
กระจายอำนาจสู่เขตและสถานศึกษา
ทุกคนได้รับประโยชน์ไม่น้อยกว่าเดิม
มีเป้าหมายผู้เรียนเป็นหลัก
เปิดโอกาสและเป็นธรรมทุกฝ่าย
วิสัยทัศน์ในการจัดระบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
ให้ครูประจำการทั้งภาครัฐและเอกชนได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
กลุ่มเป้าหมายในการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
ครูก่อนปีประจำการในปีการศึกษา2537 ส่งเสริมครูในหลากหลายสาขา
ครูประจำการในปีการศึกษา2539
คณะกรรมการโรงเรียน
การจัดระบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
ควรศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูกับการผลิตครู ภาระงาน ค่าตอบแทน
คณะกรรมการการศึกษากฎหมายและปรับปรุงกฏหมาย
ควรมีคณะกรรมการปรับปรุงและแก้ไขกฏหมาย
การเผยแพร่แนวคิด หลักการ และวิธีการจัดระบบ
ควรเผยเเพร่แนวคิดให้กว้างขวาง
การจัดระบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูในต่างประเทศ
การพัฒนาครูในสหรัฐอเมริกา
มาตรฐานวิชาชีพครู
ต้องมีใบประกอบวิชาชีพ มีการพัฒนาฝึกอบรมตลอดชีวิตการทำงาน
การออกใบอนุญาต
หากย้ายรัฐต้องไปสอบใหม่ เขตพื้นที่จะเป็นคนจ่ายเงินเดือน
ครูดีเด่น
เขตคัดเลือกครุดีเด่นภายใต้โครงการของกระทรวงศึกษาธิการ
การพัฒนาครูของรัฐออนตาริโอในแคนนาดา
ได้รับอำนาจหน้าที่จากรัฐเป็นองค์กรวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพ
พื้นฐานความรู้วิชาการทั่วไป
ผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาศึกษาศาสตร์อย่างน้อย 1 ปี
ภาษาดีโดยใช้ภาษาอังกฤษหรือฝรั่งเศษ
การออกใบอนุญาตวิชาชีพครูแคนนาดา
ออกให้ตามระดับชั้นหากครูจะเปลี่ยนระดับที่สอนจะต้องสอบหรือพัฒนาฝึกอบรมเพิ่มเติมมี4 ระดับ คือ ประถมศึกษาปีที่ 3 ประถมศึกษาปีที่ 4-6 มัธยมศึกษาปีที่ 7-9 และมัธยมศึกษาปีที่ 10-12
การพัฒนาครูในฟินแลนด์
การรับเข้าเรียน
ครูประจำชั้น
สอบข้อเขียน สอบวัดความถนัด และการสัมภาษณ์
ครูประจำวิชา
ต้องสมัครเรียนหลักสูตรครูประจำวิชา
ความเป็นมาของการพัฒนาครู
เริ่มในปลายศตวรรษที่19 หลักสูตรครูโรงเรียนประชาบาลต่อมาการฏิรูปการศึกษาจึงแบ่งเป็น2 หลักสูตรคือครูประจำชั้นและครูประจำวิชา
การศึกษาของฟินแลนด์
ภาคบังคับ 9 ปี ตั้งแต่อายุ7-16ปี ระดับชั้นปีที่ 1-9 โรงเรียนทุกแห่งมีอาหารกลางวันฟรี
หลักสูตรการฝึกหัดครู
หลักสูตรครูประจำชั้น
หลักสูตรครูอนุบาล
หลักสูตรครูประจำวิชา
หลักสูตรครูการศึกษาพิเศษ
หลักสูตรครูแนะแนว
ประวัติการจัดการศึกษาวิชาชีพครู
เริ่มต้นในค.ศ.1863 วิทยาลัยฝึกหัดครูแห่งยูเเวสกูแล ใช้เวลา2-6 ปีในการศึกษาเพื่อได้รับใบอนุปริญญา
การศึกษาขอลครูกลายเป็นปริญญาตรี ปริญญาโท
แนวทางการพัฒนาศักยภาพของครูฟินแลนด์
ใช้การวิจัยเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ความสามารถด้านการสอนในชั้นเรียนของครูและการทำงานร่วมกับชุมชน ครูมีสมรรถนะการสอนที่เข้มแข็ง