Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มะเร็งลำไส้ใหญ่ (Colorectal cancer) (การวินิจฉัย (ซักประวัติและการตรวจร่าง…
มะเร็งลำไส้ใหญ่ (Colorectal cancer)
คือ มะเร็งที่เกิดขึ้นกับส่วนใดส่วนหนึ่งของลำไส้ใหญ่ เริ่มที่บริเวณผิวเยื่อบุผนังลำไส้และเิดรอยโรค จนกระทั่งเป็นก้อนมะเร็ง
สาเหตุ
พันธุกรรม
อาหารไขมันสูงหรืออาหารที่ขาดใยอาหาร
อายุมากขึ้น
Inflammatory bowel disease
Ulcerative colitis
Crohn’s colitis
จากกรณีศึกษา :red_flag: ผู้ป่วยอายุ 62 ปีและมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารประเภทกากใยน้อย
พยาธิสภาพแบ่งตามลักษณะของก้อนมะเร็ง
Ulcerating ก้อนมะเร็งจะมีลักษณะเหมือนเป็นแผล (Ulcer)
Fungating (Exophytic) ลักษณะนี้จะเห็นเป็นก้อนยื่นออกจากผิวเยื่อบุลำไส้ใหญ่
Stenosing บางครั้งก้อนมะเร็งจะเจริญเติบโตเข้าไปใน Lumen
Constricting เป็นลักษณะของก้อนมะเร็งที่โตไปตามผนังของลำไส้ใหญ่จนรอบ Lumen
อาการตามตำแหน่งทางกายวิภาคของก้อนมะเร็ง
2.Transverse and Descending Colon
เกิดการอุดตัน (Obstruction)
แตกทะลุของลำไส้ใหญ่(Perforation)
อาการปวดท้อง (Abdominal Cramping)
Rectosigmoid Colon and Rectal Cancer
อาการถ่ายเป็นเลือด (Hematochezia)
ปวดเบ่ง (Tenesmus)
จากกรณีศึกษา :red_flag: ผู้ป่วยมีอาการถ่ายเป็นมูกเลือด ขับถ่ายลำบาก อุจจาระเป็นก้อนแข็ง
1.Right Colon Cancer ไม่ค่อยพบอาการของการอุดตันของลำไส้ใหญ่ มักจะมีอาการในกรณีก้อนมะเร็งเป็นแผลแตกมีการสูญเสียเลือด อาจมีอาการของภาวะโลหิตจาง
การวินิจฉัย
นิ้วคลําตรวจทางทวารหนัก (PR)
Anoscopy, Proctoscopy, Sigmoidoscopy การตรวจด้วยกล้องต่าง ๆ
ซักประวัติและการตรวจร่างกาย
พบอาการของความผิดปกติของระบบขับถ่าย มีอาการท้องผูก ขับถ่ายลำบาก ต้องใช้แรงเบ่งมาก มีเลือดออกปนกับอุจจาระ
Colonoscopy
Colonoscopy วันที่ 4 ตุลาคม 2562 ร่วมกับColon biopsy
chest X-ray และตรวจเลือดหา liver functions (LFT) : เป็นการหาการกระจายของมะเร็ง
liver functions (LFT) วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2563 มีค่าปกติ
การตรวจชิ้นเนื้อ (biopsy)
Colon biopsy วันที่ 13 ตุลาคม 2562 พบก้อนเนื้อบริเวณลำไส้และผล biopsy Adenocarcinoma,well differentiated
พบว่าเป็น CA descending colon
Carcino embryonic antigen (CEA)
การรักษาโดยการผ่าตัด
มะเร็งที่ยังไม่อุดลําไส้ใหญ่
1.ตัดแล้วนําปลาย
ลําไส้ที่เหลือมาต่อกัน
จากกรณีศึกษา :red_flag:ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Explorlap with Resection Anastomosis (Left Hemicotectomy) with Appendectomy : (การผ่าตัดผนังหน้าท้องและเยื่อบุช่องท้องเข้าไปเพื่อตรวจวินิจฉัยร่วมกับการผ่าตัดลำไส้ใหญ่และต่อลำไส้ร่วมกับการผ่าตัดไส้ติ่ง) Under GA เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563
2.ตัดลําไส้ใหญ่รวมทั้งกล้ามเนื้อหูรูดทั้งหมดของทวารหนักและนําปลายบนของลําไส้มาเปิดไว้หน้าท้อง (abdomino-perineal resection หรือ AP resection)
ตัดลําไส้แต่ไม่ต่อปลายที่เหลือเข้าด้วยกัน นําปลายที่เหลือทั้งสองด้านมาเปิดไว้ หน้าท้อง หรือนําปลายบนมาเปิดไว้หน้าท้องและเย็บปิดปลายล่าง
การตัดลําไส้ใหญ่ออกทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมด และนําลําไส้เล็กมาต่อกับปลายที่ยังเหลือ
การนําลําไส้ใหญ่เหนือก้อนมาเปิดที่หน้าท้องโดยไม่ตัดลําไส้และก้อนมะเร็งออก
การนําลําไส้เหนือก้อนมาต่อกับลําไส้ใต้ก้อนมะเร็ง
มะเร็งที่ทําให้ลําไส้ใหญ่อุดตัน
2.ตัดลําไส้ใหญ่บริเวณที่มีก้อนมะเร็งอุดตันรวมทั้งลําไส้ใหญ่ทั้งหมดที่อยู่เหนือก้อนมะเร็งนี้ และนําลําไส้เล็กมาต่อกับลําไส้ใหญ่ที่ยังเหลือ (right colectomy, Subtotal colectomy, total colectomy)
3.ตัดลําไส้ใหญ่ส่วนที่มีก้อนมะเร็ง แล้วนําปลายลําไส้ใหญ่ที่ยังเหลือมาเปิดไว้หน้าท้อง
1.นําลําไส้ใหญ่เหนือบริเวณที่อุดตันมาเปิด ให้อุจจาระระบายออกทางหน้าท้อง (colostomy)
4.ตัดลําไส้ใหญ่ส่วนที่มีก้อนมะเร็งและต่อปลายที่เหลือเข้าด้วยกัน
5.ต่อลําไส้เหนือก้อนมะเร็งเข้ากับลําไส้ที่อยู่ใต้ตําแหน่งที่ถูกอุดตัน (by-pass operation)
วิธีอื่น ๆ เช่น การทําลายมะเร็งที่อุดตันด้วยความร้อนหรือแสงเลเซอร์ หรือสอดท่อ ผ่านรอยตีบโดยใช้กล้อง (Scope)
การรักษาโดยรังสีและเคมีบําบัด
ไม่ใช่การรักษาหลักแต่จะช่วยในเรื่องของการรักษาหรือบรรเทาอาการ,ลดโอกาสการเกิดเป็นซ้ำที่ตําแหน่งเดิม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
หลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อเนื่องจากมีแผลเปิดสู่ภายนอกจากการผ่าตัด
พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้น้อย
ปวดเนื่องเนื้อเยื่อได้รับการกระทบกระเทือนจากการผ่าตัด
ท้องอืดเนื่องจากมีลำไส้เคลื่อนไหวน้อย
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด 24 ชั่วมโมงแรก
การได้รับยาระงับความรู้สึก
Hypovolumic shock
ปวดแผลผ่าตัด
ก่อนผ่าตัด
ผู้ป่วยวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวก่อนและหลังการผ่าตัด
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแน่นท้อง