Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
LEARNING LOG 03/02/2563 (6) (สิ่งที่สนใจ (หน้าที่ของผู้ประเมินภายใน,…
LEARNING LOG
03/02/2563 (6)
เรียนอะไร
การประกันคุณภาพภายใน
ความหมาย
การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันการศึกษาจากภายใน โดยวงจร PDCA (Plan-Do-Check-Act)เป็นการปฏิบัติโดยบุคลากรของสถาบันการศึกษาหรือโดยหน่วยงานต้นสังกัด ที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถาบันการศึกษานั้นๆ
วงจรบริหารงานคุณภาพ PDCA
Plan ขั้นตอนการวางแผน
Do ขั้นตอนการปฏิบัติ
Cheek ขั้นตอนการตรวจสอบ
Action ขั้นตอนการดำเนินงาน
หลักการของการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาร่วมกันพัฒนาปรับปรุงคุณภาพ
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการ
และการทำงานของบุคคลในสถานศึกษา
เป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
กระบวนการประกัน คุณภาพการศึกษา
การตรวจสอบ (Quality Audit) เป็นการดำเนินการของสถาบันการศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดในการยืนยันเป้าหมายที่กำหนด
การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) เป็นกระบวนการดำเนินการของหน่วยงานต้นสังกัดและสถาบันการศึกษาในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ
การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) เป็นการประเมินค่าระดับคุณภาพของกิจกรรมเฉพาะอย่างในหน่วยงาน เช่น คุณภาพการจัดการศึกษา คุณภาพของงานวิจัย คุณภาพของการสอน เป็นต้น
วัตถุประสงค์
เพื่อสร้างความมั่นใจว่าสถานศึกษาจะจัดการศึกษาได้คุณภาพมาตรฐาน ผู้สำเร็จการศึกษามีความรู้ ความสามารถ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรที่กำหนดและสังคมต้องการ
ระบบการประกันคุณภาพภายใน
กำหนดมาตรฐานการ
ศึกษาของสถานศึกษา
เป้าหมายสำคัญ การจัดการศึกษา
ปัจจัย : กระบวนการ + ผลผลิต
เพื่อกำกับ ติดตาม ดูแล ตรวจสอบ ประกันคุณภาพ
การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของ
สถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
มุ่งเน้น : คุณภาพการศึกษามาตรฐานการศึกษา
โดยสถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสม วิสัยทัศน์ + มาตรฐานการศึกษา
การดำเนินงานตามแผนการพัฒนาคุณภาพ
กำกับติดตาม สนับสนุน
การปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมาย ตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา โดยจัดทำแผนการปฏิบัติการประจำปี
การประเมินและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
เป็นกระบวนการประเมินผลการดำเนินงานตามมารตฐานการศึกษา
จัดทำโดยบุคลากรภายในหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
ติตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
มุ่งเน้นผลการดำเนินการตามแผนการพัฒนาการจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี
ผลการติดตามตรวจสอบ = หลักสูตร เผยแพร่ ปรับปรุง
การจัดส่งรายงานประเมินตนเอง
จัดทำรายงานพัฒนาการจัดการศึกษา
ผลมาจากการดำเนินงานทั้งหมด
เพื่อนนำเสนอผลการพัฒนาการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
การพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
รายงานการประเมินตนเอง
ตามคำแนะนำ สมศ.
เพื่อให้การประกันคุณภาพ
ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ขั้นตอนการดำเนินงานตา
กระบวนการการประกัน คุณภาพภายใน
ขั้นการเตรียมการ (บุคลากร)
ขั้นการดเนินงานประกันคุณภาพ PDCA
ขั้นการจัดทำรายงานประเมินตนเอง
หรือรายงานประจำปี
การประกันคุณภาพภายในภายนอกมีความ
สัมพันธ์กันอย่างไร
การประกันคุณภาพภายใน = Input Prosess
การประกันคุณภาพภายนอก = Output Outcome
สิ่งที่สนใจ
หน้าที่ของผู้ประเมินภายใน
การจัดทำการรายงานตนเอง
การติดตามผลการประเมิน
ความร่วมมือในการทำงานการประกันคุณภาพภายใน
สิ่งที่ได้จากการเรียน
ความรู้
การประกันคุณภาพภายใน
ทักษะ
การสื่อสาร
การคิด