Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรีรวิทยาระบบไหลเวียนโลหิต (พลศาสตร์การไหลเวียนเลือด (การไหลเวียนเลือด…
สรีรวิทยาระบบไหลเวียนโลหิต
เลือด
องค์ประกอบของเลือด
พลาสมา
เป็นของเหลวในเลือด
ในภาวะปกร่างกายจะมีสัดส่วน~40-60%ของปริมาณเลือด
ขึ้นอยู่กับอายุและเพศ
เป็นของเหลวสีเหลืองอ่อน
หน้าที่
ขนส่งสารที่ละลายในน้ำได้
กลูโคส กรดอะมิโน
เม็ดเลือด
ส่วนใหญ่สร้างมาจาก stem cell
เม็ดเลือดแดง
เม็ดเลือดขาว
เกล็ดเลือด
เม็ดเลือดแดง
มีปริมาณมากสุดในเลือด
ลักษณะกลมแบน
ตรงกลางเซลล์ทั้งสองข้างด้านเว้าเขาหากัน
ไม่มีนิวเคียส
การตรวจสอบปริมาณเลือด:Hematocrit
Hemoglobin
รับ-ส่ง O2 และ CO2
การสร้างเม็ดเลือดแดง
สร้างจากไขกระดูกโดยขบวนการสร้างเม็ดเลือดขาว
การทำลายเม็ดเลือดแดง
มีอายุ~120วัน
เม็ดเลือดขาว
ปกป้องร่างกายจากเชื้อโรคและสารแปลกปลอมต่างๆ
Granulocyte
สร้างจากไขกระดูก
neutrophil
eosinophil
basophil
Agranule
สร้างจากเนื้อเยื่อน้ำเหลือง
lymphocyte
monocyte
คุณสมบัติ
การแทรกของเม็ดเลือดออกนอกหลอดเลือด
คีโมแทกซิส
ฟาโกไซโทซิส
เกล็ดเลือดและการเเข็งตัวของเลือด
แตกตัวมาจาก megakaryocyte
การห้ามเลือด
แบบหดแคบของหลอดเลือด vasoconstriction
การเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด platelet aggregation
การจับกัน เป็นลิ่ม/คล็อท
พลศาสตร์การไหลเวียนเลือด
การไหลเวียนเลือด
เป็นการเคลื่อนที่ของสสาร
เคลื่อนที่จากพลังงานสูง->ต่ำ
Bernoulli ได้แบ่งเป็น3พลังงาน
ความดัน
แรงดึงดูด
พลังงานการเคลื่อนที่
มีวงจรการไหลแบบขนาน
ทำให้แรงต้านทานมีค่าลดลง
ความดัน
เกิดจากแรงผลักของโมเลกุลในเลือดและผนังหลอดเลือด
จำนวนโมเลกุลมากแต่ปริมาณช่องว่างน้อย
คือ เกิดเเรงดันมาก
เป็นพลังงานหลักในการไหลของเลือด
แรงโน้มถ่วงของโลก
มีผลต่อการเคลื่อนที่ของสสารมากที่สุด
ทำให้เลือดไหลลงมาที่หัวมาก เมื่อตีลังกาจะไหลลงมาที่หัว
กลไกการไหล
อาศัยความต่างของความดันเลือด
เลือดไหลจากจุดที่มีความดันสูง->ต่ำ
Qแปรผกผันกับ AP
ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงต้านทานการไหล
รัศมีของหลอดเลือด
ความยาวของหลอดเลือด
ความหนืดของเลือด
เรียกว่า Poiseuille’s equation
ความหนืดของเลือด
ทำให้ของเหลวมีความเร็วต่างกัน
ปัจจัย
Hematocrit
อุณหภูมิ
ลักษณะการไหล
ความเร็วของการไหล
ขนาดของหลอดเลือด
Polycythemia
เม็ดเลือดแดงมาก->เลือดหนืดมาก->ไหลช้า
Anemia
เลือดจาง ->เลือดหนืดน้อย->ไหลเร็ว
ข้อดีของหลอดเลือดแบบขนาน
ความต้านทานรวมมีค่าต่ำกว่าแบบอนุกรม
แต่ละอวัยวะได้รับเลือดจากหัวใจโดยตรง
อัตราการไหลถูกควบคุมโดยการเปลี่ยนค่าความต้านทานของอวัยวะนั้น
การไหลอย่างมีระเบียบและการไหลแบบอลวน
มีความสัมพันธ์ระหว่าง
ความดัน
ความต้านทาน
อัตราการไหล
บางสภาวะอาจเปลี่ยนเป็นแบบอลวน
อัตราการไหลและความดันไม่สัมพันธ์กัน
เมื่อแรงเฉื่อยกับแรงเคลื่อนที่เกินระดับ
ทำให้เกิดการไหลแบบอลวน
ปัจจัยที่มีผลต่อการไหลแบบอลวน
การเพิ่มอัตราการไหลของเลือด
การลดความหนืดของเลือด
การลดขนาดของหลอดเลือด
หัวใจ
โครงสร้างและหน้าที่ของหัวใจ
หน้าที่
บีบตัวเพื่อกันเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
คลายตัวเพื่อให้เลือดบางส่วนไหลกลับหัวใจ
ลิ้นหัวใจ
ควบคุมการไหลของเลือด
1.A-V valve
ลิ้นไตรคัสพิด
กั้นหัวใจห้องบนกับล่างขวา
ลิ้นไมทรัล
อยู่ด้านซ้ายของหัวใจ
2.ลิ้นเซมิลูนาร์
Aortic valve และ Pulmonary valve
ป้องกันเลือดไหลย้อนกลับ
คุณสมบัติทางไฟฟ้าของหัวใจ
เซลล์เนื้อเยื่อ 3 ชนิด
1.กล้ามเนื้อหัวใจ ผนังของ Atrium และ Ventricle หดตัวเมื่อถูกกระตุ้น
เซลล์หดตัวพร้อมกัน => Syncytium
2.nodal cell
สร้างคลื่นหัวใจ2ชนิด = SA node และ AV node
3.Conducting cell
นำคลื่นไฟฟ้าหัวใจไปกระตุ้นให้ ventricle บีบตัว
ชนิดการทำงาน
1.ชนิดตอบสนองไว
มี Depolarization เกิดขึ้นเร็ว
2.ชนิดตอบสนองช้า
มี Depolarization เกิดขึ้นช้า
ไม่มี phase 1 ขณะที่ phase2สั้นและแยกไม่ออกจากphase3
ศักย์การทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
1.ขณะพัก k+ผ่านเซลล์ได้ ความต่างศักย์ไฟฟ้า = -90mV
2.เมื่อถูกเร้า ความต่างศักย์จะเป็นลบน้อยลงอย่างรวดเร็วจนถึงระดับ Thresholds
3.Na+ เข้าcellมาก เกิด action potential ศักย์ไฟฟ้าเป็น0 และกลายเป็นบวก
4.ค่าความต่างศักดิ์ที่เยื่อเซลล์ขึ้นอยู่กับผลต่างความเข้มข้นของ Na+ระหว่างเซลล์
ระยะพัก
ระยะพักสมบูรณ์
ระยะเวลาที่เซลล์ไม่ตอบสนองต่อการเร้า
ระยะพักสัมพัทธ์
ระยะถัดจากระยะพักสมบูรณ์สิ่งเร้าที่แรงกว่า Thresholdกระตุ้นให้เกิด action potentials ได้
ศักย์การทำงานของ Nodal cell
Acetylcholine และ vagus nerve มีผลลดอัตราการเต้นของหัวใจ
CatecholamineและSympathetic nerve ทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การเกิด ECG
P wave
เกิด Depolarization ของAtriumทั้งสองข้าง
QRD complex
เกิด Depolarization ของ Ventricle ทั้งสอง
T wave
เกิดจาก Depolarization ของ Ventricle ทั้งสองข้าง
วงจรหัวใจ
1.Atrial systole
ความดันในatriumสูง บีบเลือดลง ventricle
2.ช่วงแรกของ ventricle systole
ความดันในventricleสูงอย่างรวดเร็ว เลือดเริ่มไหลออกจากหัวใจ
3.เลือดพุ่งออกอย่างรวดเร็วเเละลดลง เลือดกลับสู atriumมากขึ้น
4.ความดันในventricle ต่ำกว่าใน atrium
A-V valve เปิด เข้าสู่ช่วง rapid filling วนเป็นวงจรใหม่ซ้ำๆ
Heart sounds
เกิดจากการสั่นสะเทือนจากการปิดของลิ้นหัวใจและการไหลของเลือด
เสียงที่1 LUB
สั่นจากการปิดของ A-V valve
เสียงที่2 DUB
สั่นจากการปิดของ Semilunar vavle
เสียงที่3
เสียงที่4
Murmur
เสียงหัวใจที่ผิดปกติ
มักเกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
CO
ปกติ ~5L/min
HRxSV (ในเวลา1นาที)
ปริมาณเลือดไหลออกจากหัวใจใน1นาที
HR
ผู้ใหญ่~75ครั้ง/นาที
เด็ก~135ครั้ง/นาที
Epinephrine,Norepinephrine,Thyroxin
ทำใหHRเต้นเร็วและบีบตัวแรงขึ้น
การไหลเวียนเลือดในร่างกาย
การไหลเวียนใน Capillary
เพื่อแลกเปลี่ยนสารต่างๆระหว่างเลือดกับเนื้อเยื่อ
ส่วนปลายของ capillary
ค่าติดลบ ->น้ำกลับเข้าสู่หลอดเลือด(Absorbtion)
ส่วนต้นของ Capillary
ค่าเป็นบวก->น้ำเคลื่อนออกนอกเซลล์ (Filtration)
การเเลกเปลี่ยนสารผ่านผนังหลอดเลือดฝอย
1.Diffusion
ขึ้นกับความเข้มข้นของสารระหว่างหลอดเลือดฝอยและความสามารถของสารในการละลายน้ำและในไขมัน
2.Filtration & Absorption
คือการเคลื่อนที่ของของเหลวผ่านผนังหลอดเลือดฝอย
ขึ้นกับความดันต่างๆที่กระทำต่อของเหลว
Venous return
อัตราการไหลของหลอดเลือดดำจากส่วนต่างๆเข้าสู่ Rt. At.ในระยะเวลา 1นาที
ปกติ VR=CO (~5L/min)
ปัจจัยการไหลกลับของVR
Thor’s o abdominal pump
Skeletal muscle pump
Venomotor tone
Blood volume
ความดันเลือดดำ
ขณะยืน : ความดันเปลี่ยนตามเเรงดึงดูดของโลก
ตำแหน่งที่มีค่าเป็น0 อยู่ที่ระดับฐานของTricuspid valve ใน Rt. At.
การวัดความดันเลือดแดง
ทางอ้อม :ด้วยเครื่องมือ
Sphygmomanometer
กางฟัง
การคลำ
ทางตรง
ปัจจัยที่กำหนดความดันเลือด
BP=COxTPR
BP=120/90
120=systolic
90=diastolic
Pulse pressure =30mmHg
Mean arterial blood pressure =100mmHg
การควบคุมการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด
Cardiovascular center
Medulla oblongata
ควบคุมการไหลเวียนเลือดในร่างกาย
เรียกว่า vasomotor center
Hypothalamus
ควบคุมการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติทั่วไป
Cerebral cortex
สามารถส่งคลื่นประสาทไปกระตุ้น/ยับยั้งการทำงานของ vasomotor center
Spinal cord
Sensor
Arterial baroreceptor
Carotid sinus
Common carotid arteries ทั้งซ้ายและขวา
Arterial baroreceptor reflex
ทำงานได้ดีเมื่อ BP อยู่ในช่วง 60-160mmHg
ไม่สามารถปรับความดันเลือดให้กลับสู่สภาวะปกติได้
การควบคุมการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
การควบคุมการทำงานของหัวใจ
Autonomic nervous control
ควบคุม Sympathetic และ Parasympathetic
หัวใจปกติขณะพักมี HR ~70ครั้ง/นาที
Hormone control
เพิ่มอัตราเมแทบอลิกของร่างกาย
มีผลเพิ่มการทำงานของหัวใจ
Epinephrine
Norepinephrine
การควบคุมการทำงานของหลอดเลือด
การควบคุมการตึงของหลอดเลือด vascular tone
ระดับการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบที่ผนังของหลอดเลือด
Intrinsic tone
กลไกการควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อเรียบของผนังหลอดเลือด
การควบคุมขนาดของรัศมีของหลอดเลือด
การควบคุมจากส่วนกลาง
การควบคุมเฉพาะที่
บทบาทของเซลล์เยื่อบุendothelial cells ต่อการหดเเละขยายของหลอดเลือด
ทำให้หลอดเลือดหดตัวและออกฤทธิ์ได้นาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างcentral controlและlocal control
ขนาดของหลอดเลือดแดงarteriolesและความต้านทานการไหลของเลือด