Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย (ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลผลข้อมูล…
ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลผลข้อมูล
เกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง
การเรียนรู้ของมนุษย์-การทำงานของสมอง
มี 3 ขั้นตอน
1.การรับข้อมูล (Input)
ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เกิดการรับรู้ รู้จัก
2. การเข้ารหัส (Encoding)
ความจำระยะสั้น
3. การส่งข้อมูลออก (Output)
ความจำระยะยาว
การประยุกต์ใช้
นำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จัก มีการจัดหมวดหมู่ ท่องซ้ำ ทวนซ้ำ เรียบเรียง ขยายความจนเกิดเป็นความจำระยะยาว
ทฤษฎีพหุปัญญา
เชาว์ปัญญา คือ ความสามารถในการแก้ปัญหาในสภาพแวดล้อมต่างๆ หรือการสร้างสรรค์ผลงาน
เชาว์ปัญญา ไม่คงที่สามารถ
เปลี่ยนแปลงได้
เชาว์ปัญญา มีทั้งหมด 8 ด้าน
ปัญญาด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์
ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์
ปัญญาด้านภาษา
ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว
ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์
ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง
ปัญญาด้านดนตรี
ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้
จัดกิจกรรมที่หลายหลาย
จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับพัฒนาการของผู้เรียน
ผสมผสานเชาว์ปัญญา/ความสามารถด้านต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ของผู้เรียน
วัดและประเมินผลหลายด้าน
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
Vygotsky (1962)
สิ่งเเวดล้อม
(ทางธรรมชาติเเละสังคม : ภาษา สถาบัน) มีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางเชาว์ปัญญา
ทุกคนมีระดับ
พัฒนาการ
ทางเชาว์ปัญญา เเละมี
ศักยภาพ
ที่จะพัฒนาได้
ให้ความช่วยเหลือ ชี้เเนะ ช่วยพัฒนาให้ถึง
ระดับที่อยู่ในศักยภาพของผู้เรียน
Jonassen (1992)
ให้ความสำคัญกับ
กระบวนการเเละวิธีการ
สร้างความรู้ ความเข้าใจจากประสบการณ์
สมอง
เป็นเครื่องมือสำคัญในการเเปลความหมาย เหตุการณ์ สิ่งต่างๆ
การเเปลความหมาย
ขึ้นอยู้กับประสบการณ์ ความสนใจ ภูมิหลังของเเต่ละคน
มีความเฉพาะตัว
เรียนรู้ด้วยการจัดการทำข้อมูล มิใช่การรับข้อมูล
action on ไม่ใช่ taking on
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสมองเเละกระบวนการทางสังคม
การประยุกต์ใช้
ผลการเรียนรู้
เน้นกระบวนการสร้างความรู้
เป้าหมายการเรียนรู้
จากการปฏิบัติจริง
การสาธิต
เป็นการเเปลความหมายเเละสร้างความหมายที่หลากหลาย
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มที่
ผู้เรียนเป็นผู้นำตนเองเเละกำหนดตนเอง ในการเรียนรู้
ครูเป็นผู้ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือผู้เรียน
ใช้การประเมินผลที่หลากหลาย
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ
องค์ประกอบของการเรียนรู้
ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
การใช้ทักษะการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการทำงานเป็นกลุ่ม
การวิเคราะห์การบวนการกลุ่ม
การปรึกษาหารืออย่างใกล้ชิด
การพึ่งพาและเกื้อกูลกัน
ผลดีของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
ผู้เรียนมีความพยายามที่จะบรรลุเป้าหมายมากขึ้น
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนดีขึ้น
ผู้เรียนมีสุขภาพจิตดีขึ้น
ประเภทของกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ
แบบเป็นทางการ
แบบไม่เป็นทางการ
แบบถาวร
การประยุกต์ใช้
วางแผนการสอน โดยการกำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียน
ชี้แจงกิจกรรมงานกลุ่ม
กำกับดูแล ช่วยเหลือกลุ่ม สังเกตการณ์ และสรุปประเด็นการเรียนรู้
ประเมินผลด้านปริมาณ คุณภาพ
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน
การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้
อำนวยความสะดวกให้แก่ครูและผู้เรียน
การออกแบบและนำเทคโนโลยีมาใช้ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดกาเรียนรู้ได้ดี
สร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ดีในการเรียน
การเรียนรู้ที่ดีเกิดจากการสร้างพลังงานความรู้ในตัวเองและด้วยตนเอง
ผู้เรียนได้สร้างความคิดและนำความคิดไปสร้างสรรค์ชิ้นงาน
การสร้างสรรค์ชิ้นงาน คือ การสร้างความรู้ในตนเอง