Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sepsis (การวินิจฉัย (การตรวจอาการทั่วไป เบื้องต้นแพทย์จะตรวจอาการของผู้ป่ว…
Sepsis
การวินิจฉัย
การตรวจอาการทั่วไป เบื้องต้นแพทย์จะตรวจอาการของผู้ป่วย ประกอบกับดูประวัติการรักษา นอกจากนี้ แพทย์จะตรวจร่างกายเพื่อวัดระดับความดันโลหิต อุณหภูมิร่างกาย ชีพจร และอาการ หรือสัญญาณของปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อในกระแสเลือด
การตรวจเลือด แพทย์จะเก็บตัวอย่างเลือดของผู้ป่วยเพื่อนำไปตรวจหาการติดเชื้อ การเกิดลิ่มเลือด การทำงานที่ตับหรือไต ความสามารถในการลำเลียงออกซิเจน และระดับความสมดุลของเกลือแร่ในร่างกายผู้ป่วย
การตรวจปัสสาวะ ผู้ป่วยทางเดินปัสสาวะอักเสบต้องนำตัวอย่างปัสสาวะให้แพทย์ตรวจ เพื่อดูการติดเชื้อของแบคทีเรีย
การตรวจสารคัดหลั่งจากบาดแผล หากผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บและเกิดแผลติดเชื้อ แพทย์จะเก็บตัวอย่างสารคัดหลั่งจากบาดแผลมาตรวจ เพื่อช่วยในการจ่ายยาปฏิชีวนะให้สามารถรักษาการติดเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การตรวจน้ำมูกหรือเสมหะ หากผู้ป่วยเกิดอาการไอและมีเสมหะด้วย แพทย์จะเก็บตัวอย่างน้ำมูกหรือเสมหะ โดยการตรวจนี้จะช่วยวินิจฉัยชนิดของแบคทีเรียอันเป็นสาเหตุของการติดเชื้อ
การตรวจด้วยภาพสแกน วิธีนี้จะช่วยให้แพทย์ตรวจสภาพของอวัยวะหรือบริเวณเนื้อเยื่อที่ติดเชื้อให้เห็นได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยการตรวจด้วยภาพสแกนประกอบด้วย
-
สาเหตุ
-
-
ประมาณ 5% เกิดจากแบคทีเรียชนิดก่อภาวะนี้ไดบ่อย (Classic pathogens เช่น H.influenzae, Neisseria
meningitidis, Streptococcus pyogenes และ S.pneumoniae)
-
-
ปัจจัยเสี่ยง
-
การทำหัตถการต่างๆที่่ต้องใส่เครื่องมือเขาไปในร่างกาย ซึ่งจะเป็นการนาเชื้อโรคใหเข้าสู่ร่างกายไดง้่ายข้ึน
การให้ยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อ
แบคทีเรีย การใหยาปฏิชีวนะหลายๆชนิดพร้อมกนั หรือใหโดยไม่จำเป็น จะทำให้ ร่างกายเสี่ยงต่อการติดเชื้อราและ เกิดภาวะพิษเหตุติดเชื้อภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดได้ง่ายขึ้น เนื่องจากยาจะฆ่าแบคทีเรียชนิดที่อาศัยเป็นปกติในร่างกายของเรา
-
จากกรณีศึกษา มีปัจจัยเสี่ยงคือ ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวหลายโรค คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง
อาการและอาการแสดง
-
-
-
-
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยมีอาการ มีไข้หนาวสั่น สัญญาณชีพแรกรับ อุณหภูมิ 38.5 ชีพจร 130 ครั้งต่อนาที อัตตราการหายใจ 20 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิต 200/92mmHg
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะเลือดแข็งตัวในหลอดเลือดแบบแพร่กระจาย (Disseminated Intravascular Coagulation, DIC) ผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดอาจเกิดภาวะเลือดในหลอดเลือดแข็งตัวได้ โดยจะเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดเล็กที่อยู่ทั่วตามร่างกาย
-
อวัยวะทำงานผิดปกติ การติดเชื้อในกระแสเลือดส่งผลต่อการทำงานของอวัยวะอื่น ๆ ภายในร่างกายอีกด้วย คือ อวัยวะหลายส่วนไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ ซึ่งรวมไปถึงการทำงานของหัวใจ ปอด และไต
ภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Respiratory Distress Syndrome, ARDS) ภาวะนี้ถือเป็นภาวะที่ก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิต เนื่องจากผู้ป่วยไม่ได้รับออกซิเจนไปหล่อเลี้ยงปอดอย่างเพียงพอ
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ยาปฏิชีวนะ ยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ต่อต้านเชื้อแบคทีเรียครอบคลุมหลายประเภท โดยแพทย์จะฉีดยาปฏิชีวนะที่คาดว่ามีผลในการรักษาผู้ป่วยเข้าหลอดเลือดดำภายใน 6 ชั่วโมงแรกหรือเร็วกว่านั้น ทั้งนี้ เมื่อได้ผลตรวจเลือดแล้ว แพทย์จึงจะเปลี่ยนไปใช้ยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาประเภทของเชื้อได้เฉพาะเจาะจง โดยจะเปลี่ยนเป็นยาปฏิชีวนะแบบเม็ดให้ผู้ป่วยหลังจากระยะวิกฤตผ่านไปแล้ว ผู้ป่วยอาจต้องใช้ยาในช่วงระยะเวลา 7-10 วัน หรือนานกว่านั้น
-
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ แพทย์จะให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำแก่ผู้ป่วยเพื่อรักษาระดับความดันโลหิตให้คงที่
-
Sepsis คือ ภาวะการติดเชื้อในกระแสโลหิตซึ่งเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โดยผู้ป่วยติดเชื้อแบคทีเรียที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย จากนั้นเชื้อแบคทีเรียซึมเข้าสู่กระแสเลือด หากไม่ได้รับการรักษาทันที อาจอักเสบทั่วร่างกาย ซึ่งทำให้ลิ่มเลือดอุดตันการลำเลียงออกซิเจนไปยังอวัยวะที่สำคัญของร่างกาย เมื่อไม่ได้รับออกซิเจนไปหล่อเลี้ยงอย่างเพียงพอ การทำงานของอวัยวะส่วนนั้นจึงล้มเหลว