Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
[Techno3-อจิตติมา] สารลดแรงตึงผิว Surfactant (2.อธิบายพฤติกรรมของสารลดแรงต…
[Techno3-อจิตติมา] สารลดแรงตึงผิว Surfactant
1.นิยามและจำแนกประเภทสารลดแรงตึงผิว
ได้แก่ สารที่มีโครงสร้าง hydrophilicและ lipophilicอยู่ในโมเลกุลเดียวกัน
ละลาย
ได้ใน phase ที่ต่างกันตั้งแต่ 2 Ph.⬆️
เรียงตัวในลักษณะ
ชั้นเดี่ยว
ที่ผิว(Monolayer)
ที่ cmc จะจัดเรียงเป็น
micelle
ใน bulk solution
2.อธิบายพฤติกรรมของสารลดแรงตึงผิว ได้แก่ การดูดซับ
ที่ผิวประจัน การทำให้ เปี ยก และการเกิดmicelle
adsorption at interface
หันส่วนที่hydro/Lipophile ไปด้านวัฏภาคน้ำ(polar)/ไขมัน
ทำให้ระบบมี G⬇️ ส่งผลให้ Y⬇️ (Y:แรงตึงระหว่างผิว)
Gibb’s equation
Conc.⬆️ ➖ Y⬇️
(หมายความว่า conc.ของสารลดแรงตึงผิวที่บริเวนผิว
สูงกว่า
conc.ของสารใน bulk solution)
Excess Conc= -a/RT d
Y
/d
a
micelle formation
กลุ่มสารลดแรงตึงผิว
ลักษณะ
ของเหลวโปร่งแสง อยู่ในช่วง
colloid
มีหลายรูปร่าง ขึ้นกับ
สัดส่วน hydrophilic กับ lipophilic
: รูปทรงกลม, รูปทรงกระบอก, แผ่น lamella
ก.เกิด micelle ไม่มีผลต่อผิวประจัน
การเกิด
เกิดไมเซลล์เป็ นปรากฏการณ์ที่เป็น
พลวัต
คือ จน.micelle(mc) และ จน.monomer อยู่ในภาวะ
สมดุล
ตลอดเวลา
monomer ทีประกอบ mc หลุดมาใน สลล. เป็น mnm เดี่ยวๆได้และกลับเป็น mc ใหม่ได้
ที่ conc.ต่าง
เรียงที่ผิว ⬇️ CMC(low conc.)
เกิด
monolayer
at CMC
เกิด
micelle
⬆️CMC
In polar solvent : หันหัวออก 🔅
In nonpolar sovent : หันหางออก 🔆
wetting
เมื่อเติมสารลดแรงตึงผิว
มุมสัมผัสระหว่าง
ผง
ยาและ
ของเหลว
แคบลง ผิวของผงยาจึง
wet
ได้ดีขึ้น
180=ไม่เปียก ,
0=เปียกสมบูรณ์
ช่วยให้ผงยา
กระจายตัว
ในน้ำกระสายยาง่ายขึ้น
3) สมบัติของสารลดแรงตึงผิว ชำระล้าง, เกิดฟอง, การทำให้ เปียก การทำอิมัลชัน การช่วยละลายและการช่วยกระจายตัว
ณ ความเข้มข้นวิกฤตไมเซลล์ สมบัติทางกายภาพของสารละลายเปลี่ยนแปลง
แรงตึงผิว
ที่ CMC การดูดซับที่ผิวประจันเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์แรงตึงผิวมีค่าคงที่ไม่ลดลงอีก
การชำระล้าง
(Detergent)
Surf จะดึงเอาสิ่งสกปรกออกจากผิวต่างๆโดย
ลด Y(sl)
ระหว่างสิ่งสกปรกกับน้ำ
ระหว่างพื้นผิวกับwork of adhesion
ระหว่างสิ่งสกปรกกับพื้นผิว
ทำให้ สิ่งสกปรกแขวนลอยในน้ำไม่กลับไปติดอีก
เปียกดี >> ชำระล้างสูง. (รูป23,25)
การช่วยละลาย
(solubilization)
หลักการ
Solubilisate
ปรากฏการณ์ที่ solubilisate แทรกเข้าไปในโมเลกุลที่ไม่ชอบ
lipophile แทรกตัวเข้าไปอยู่ในไมเซลล์ของสารละลายมีขั้ว >>> ทำให้ lipo ละลายอยู่ในน้ำได้
สารมีขั้วแทรกเข้าไปอยู่ใน micelleสารไม่มีขั้ว...
ตำแหน่งของ solubilisate ในไมเซลล์ขึ้นกับ. + ชนิด surf และ struct-chemของ solubilisate
(รูป 28)
ด้านเภสัช
ใช้ micelle ช่วย
ละลายยาที่ไม่ละลายน้ำ
ให้ละลายอยู่ในตำรับได้
👁 เช่ น surf จำพวก polysorbate ช่วยละลายตัวยา steroid ในการเตรียมยาตา
💉เช่น surf จำพวก polysorbate เตรียมยาฉีด ปกด.ADI เป็น V.ADEK (ไม่ละลายน้ำ) ให้ละลายในยาฉีดได้
การทำอิมัลชัน(emulsifying)
Poduct
Ems ปกด
ของเหลว
ที่ไม่เข้ากัน(immiscible) 2ชนิด⬆️ ช่วยทำให้ ระบบมี ex.w/o
🔆 , o/w 🔅 (รูป31)
คงตัว = หยดของ In-Ph. ไม่กลับมารวมตัวกัน
(coslescence)
เป็นหยดขนาดใหญ่และแยกตัวออกมา
หลักการ
สารที่สามารถสร้างฟิล์มล้อมรอบหยดของเหลวของ In-Ph. (ฟิล์มที่เกิดมีลักษณะต่างๆ)
มี 3 กลุ่ม
ตามลักษณะฟิล์มที่เกิดขึ้น
สารลดแรงตึงผิว (surfactant) :ฟิล์มชั้นเดียว
Polymer
ของแข็งอนุภาคเล็กละเอียด (finely divided solid particle)
HLB system ตามแนวคิด Giffin
=ค่าความสมดุลของการชอบน้ำ/น้ำมัน แบ่งกลุ่มตามความมีขั้ว
Lipophilic
Antifoaming agent (2-3)
1.0 Oleic acid
3.4 PG monostearate
W/O emulsifying agent (3-6)
3.8 Glyceryl
4.3 Sorbitan monooleate (
Span80
)
4.5 PG monolaurate
Water dispersible
Wetting agent (7-9)
8 acacia
Hydriphilic
O/W emulsifying agent (8-16)
9.6 polysorbate 61
9.8 gelatin
10.5 MC
tragacanth 13.2
40 SLS
Detergent (13-15)
16.7 tween 20
Solubilizing agent (15-18)
4) เลือกใช้ สารลดแรงตึงผิวเพื่อช่ วยเตรียมตำรับยา
ต่อหน้า 42