Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาการพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบขับถ่ายปัสสาวะ…
กรณีศึกษาการพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
สาเหตุการเกิดโรค
การสัมผัสสารเคมีต่างๆ หรือจากสภาพแวดล้อม (chemical or environmental exposures)
การสัมผัสสารเคมีต่างๆ ตัวอย่างเช่น สารเคมีกลุ่ม polycyclic aromatic hydrocarbons
จากสภาพแวดล้อม ตัวอย่างเช่น การอยู่อาศัยในเขตเมือง
ความผิดปกติทางด้านพันธุกรรมและโมเลกุล (genetic and molecular abnormalities)
จากประวัติเจ็บป่วยภายในครอบครัว บิดาเสียชีวิตด้วยมะเร็งต่อมลูกหมาก
การมีพฤติกรรมสุขภาพที่เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็ง
การสูบบุหรี่
การรับประทานอาหาร ผู้ที่ชอบรับประทานอาหารประเภทเนื้อทอด หรือไขมันสัตว์
Low fluid consumption
กรณีศึกษามีอาชีพรับจ้างขับรถบรรทุกซึ่งเป็นอาชีพที่เสี่ยงต่อการดื่มน้ำน้อยและมีการกลั้นปัสสาวะ ถ้าเราดื่มน้ำน้อยสารที่อยู่ในน้ําปัสสาวะจะสัมผัสกับกระเพาะปัสสาวะ ได้นานมากขึ้นๆ ซึ่งอาจทําไห้เกิดมะเร็งขึ้นได้
มีการระคายเคืองของกระเพาะปัสสาวะอย่างเรื้อรัง (chronic iritation)
การอักเสบหรือติดเชื้อของกระเพาะปัสสาวะอย่างเรื้อรัง มีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
การได้รับรังสีรักษาบริเวณอุ้งเชิงกรานเป็นระยะเวลาติดต่อกัน เช่น การใช้รังสีรักษามะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งรังไข่ และมดลูก
เพศ
มีแนวโน้มพบโรคนี้ในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง
พยาธิสภาพการเกิดโรค
โดยการจำแนก
Stage Ta เป็น papillary carcinoma ที่ยังไม่มีการลุกลามไปยังบริเวณอื่น
Stage T1 เป็นเนื้องอกที่ลุกลามไปยังชั้น amina propria
Stage Tis เป็นมะเร็งในระยะเริ่มแรก ซึ่งเกิดขึ้นที่ชัน mucosa ของกระเพาะปัสสาวะ
Stage T2 เป็นเนื้องอกที่ลุกลามไปยังชั้นกล้ามเนื้อของกระเพาะปัสสาวะ (Muscularis propria)
Stage T2a ป็นเนื้องอกที่ลุกลามไปถึงชั้น superfcial ของกล้ามเนื้อกระเพาะ ปัสสาวะ (Inner half)
Stage T2b เป็นเนื้องอกที่ลุกลามไปถึงชั้นของกล้ามเนื้อที่อยู่ลึกเข้าไป (Deep muscularis propria -outer half)
Stage TX เป็นระยะก่อนมะเร็ง (Primary tumor can not be assessed)
กลไกการเกิดโรค
ควันบุหรี่มีสารก่อมะเร็ง
ซึ่งเมื่อถูกดูดซึมผ่านเข้าสู่กระแสเลือด
กรองที่ไตเป้นน้ำปัสสาวะ
เมื่อไปยังกระเพาะ เข้าไปในแผ่นเยื่อกระเพาะปัสสาวะปัสสาวะจะมีการกระตุ้นให้เซลล์มีการเจริญเติบโตที่ผิดปกติกลายเป็นเซลล์มะเร็งขึ้น
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อก เนื่องจากสูญเสียเลือดจากการผ่าตัด
การผ่าตัดใหญ่ทางช่องท้องชนิดหนึ่ง จากประสบการณ์ให้การพยาบาลในผู้ป่วยกลุ่มนี้พบว่าผู้ป่วยมักสูญเสียเลือดระหว่างผ่าตัดเกินกว่า 500 มล. หรือร้อยละ 10 ของปริมาณเลือดในร่างกาย ดังนั้นผู้ป่วยกลุ่มนี้จึงมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อกจากพร่องปริมาณเลือดในระบบไหลเวียนหากมีการสูญเสียเลือดเพิ่มขึ้น
2.เสี่ยงต่อภาวะไม่สมดุลต่อสารอาหารน้ำและอิเล็กโทรไลค์เนื่องจากงดอาหารและน้ำเป็นเวลาต่อเนื่อง สูญเสียน้ำย่อยทาง NG tube และการทำถุงรองรับน้ำปัสสาวะใหม่ชนิดกั้นได้
หลังการผ่าตัด ผู้ป่วยต้องงดอาหารและน้ำจนกว่าลำไส้จะเริ่มกลับมาทำงานโดยที่ บางรายอาจต้องงดอาหารและน้ำต่อเนื่องเป็นเวลานานกว่าสัปดาห์เนื่องจากภาวะแทรกซ้อน
3.เสี่ยงต่อการติดเชื้อของแผลผ่าตัดเนื่องจากมีแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้องหรือท้องน้อย
การผ่าตัดที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินปัสสาวะและระบบทางเดินอาหาร รวมถึงมีการใส่ท่อระบายออกมานอกช่องท้อง แผลผ่าตัดจึงเป็นชนิด clean-contaminated wound ซึ่งมาโอกาสกิดการติดเชื้อของแผลผ่าตัดได้ประมาณร้อยละ 4-10 นอกจากนั้นยังใช้ระยะเวลาในการผ่าตัดนานไม่ต่ำกว่า 2 ชั่วโมง ทำให้มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของแผลผ่าตัดมากขึ้น (Medscape Nurses Education, n.d.)
4.มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดได้แก่การติดเชื้อของปอด การเกิดลิ่มเลือดอุดตันของหลอดเลือดส่วนลึก การรั่วซึมของลำไส้ที่นำมาตัดต่อทำถุงรองรับน้ำปัสสาวะใหม่ และการอุดตันของท่อระบาย
ทำถุงรองรับน้ำปัสสาวะใหม่ในระยะแรกจะคล้ายกับภาวะแทรกซ้อนที่เกิดในการผ่าตัดลำไส้ทั่วๆไป เช่น อาจเกิดภาะช็อคจากกาสูญเสียเลือด การติดเชื้อของแผลผ่าตัด และการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
5.สูญเสียภาพลักษณ์จากการผ่าตัดทำรูเปิดทวารเบาทางหน้าท้อง
ผู้ป่วยจะมีเปิดทวารเบาบริเวณหน้าท้องอย่างถาวร ส่งผลให้บางรายเกิดความอายเนื่องจาก
เสียภาพลักษณ์
6.พร่องภาวะทางเพศเนื่องจากการผ่าตัด
ภาวะพร่องทางเพศเป็นปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้หลังการผ่ตัด เนื่องด้วยวิธีการผ่าตัดที่ต้องตัดอวัยวะบริเวณใกล้เคียงซึ่งเกี่ยวข้องกับการแสดงซึ่งภาวะทางเพศออกด้วย
กรณีศึกษามีความผิดปกติที่ stage T2b
กลไกการเกิดไม่แน่ชัด