Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
[Techno-อ.สถาพร] suspension (หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับความคงตัว…
[Techno-อ.สถาพร]
suspension
ความหมาย
หมายถึงรูปแบบเภสัชภัณฑ์
coarse dispersion
ที่ประกอบด้วยผงยาที่เป็น
Solid
(dispersed phase อาจเรียกว่า“Suspensoid”) กระจายอยู่ในตัวกลาง
liquid
(dispersion medium)
Disperse System(DS)
Molecular D
<1.0 nm
Colloidal D
1.0 nm - 0.5 µm
Coarse D
> 0.5 µm 10-50 µm
ตำราอื่น
fine dispersion > 0.5 µm
(ex.magma และ gel)
coarse dispersion 10 - 50 µm
เหตุผลในการเตรียมยา
รูปสารละลาย
ยาบางชนิดละลายน้ำได้น้อย
ไม่คงตัว
รูปของขมมาก
รูป suspension
สะดวกต่อการกลืน เหมาะใช้ในเด็ก/สูงอายุ
เพิ่มฤทธิ์ Rx b/c มีพท.ผิว⬆️ Ex.
KAOLIN
ข้อเสียของยารูปแบบ suspension VS ลักษณะของ suspensionที่ดี
ข้อเสีย
⬇️uniformity ⬇️accuracy of dose >>ต้องเขย่ายาก่อนใช้
🍰 ผงยาตกตะกอนอัดแน่น (compaction of sediment)
💊 การตั้งตำรับให้ได้ลักษณะสวยงาม น่ารับประทาน และคงตัว >> ทำได้ยาก
ลักษณะที่ดี
การเขย่าให้ผงยากระจายทั่วจะต้อง..
ทำได้ง่ายและไม่ใช้แรงมาก
กระจายนานพอให้ ขนาดรับประทานที่ ถูกต้อง
ขนาดของผงยา..
เล็ก เนียน
คงที่ตลอดอายุการใช้
ไม่หน่ด รินง่าย
ชนิดของ suspension
P
arenteral Suspension
ผงยา 0.5-5%ของตำรับ
V
NaCl solution
vegetable oil บางชนิด
Opthalmic Suspension
T
opical Suspension
O
ral Suspension
ผงตัวยาสำคัญ 125-500 mg/ml
Vehicle
syrup,
sorbitol
เตรียมเป็น “for Oral suspension” โดยทำเป็นผงผสมหรือแกรนูลแห้ง b/c ยาคงตัว tสั้น
ex.antibiotic
ผงยาเข้มข้นสูง
(⬆️20%)
V
Emulsion base
V
น้ำ ปรับ
isotonic
Sterile
Sterile
หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับความคงตัว
Interfacial properties
แรงตึงระหว่างผิว
Δ G = Y(sl) * Δ A
; y = แกรมมา แรงตึงผิว
⬇️ผงยาเล็กลง >> ⬆️พื้นที่ผิว(เกิดสภาพthermodynamic
unstable
)
อนุภาคผงยาจะจับรวมกลุ่มกัน เพื่อ ⬆️พื้นที่ผิว
⬇️ surface free energy (Δ G)
บด > ⬆️A > ⬆️G > ระบบไม่ชอบ > ผงยาจึงรวมตัว > เราจึงต้อง
ลดY
DLVO theory
Force ที่ ผิวอนุภาค
🧲ดูด Attractive force (London-van der Waals)
⚙️ผลัก Repulsive force (electrical potential)
หากปรับrepulsive force (โดยการลด zeta potential ลด Y) ให้เหมาะสม จนทำให้เกิด 2nd minimum จะทำให้ผงยาเกิด(flocculation) ก่อนตกตะกอน
Floccule system
เกิด 2nd minimum
ผงยาเกาะกลุ่มกันเป็น floccule ก่อนตกตะกอน
ตกตะกอนเร็ว แต่ผงยาไม่อัดตัวแน่น ทำให้เขย่าให้กระจายได้ง่าย
Supernatant ใส
sedimentation
Sediment parameter
Degree of flocculation
Sedimentation volume
Theory Of sedimentation
ความเร็วในการตกตะกอนของผงยาจะเป็นไปตา Stokes' Law
Stokes' Law :
v = d^2 (ρ(s) - ρ(o))g / 18 η
Stoke’s Law
Effect of brownian movement
อนุภาคที่มีขนาด 2-5 µm
มีผลเอาชนะแรงโน้มถ่วงและทำให้ผงยากระจายตัวอยู่ใน medium ได้โดยไม่ตกตะกอน
Degree of flocculation (β)
β = Vu / V∞
ค่าβ ยิ่งสูง ยิ่งแสดงให้เกิด flocculation ขึ้นมาก
หลักการ + ขั้นตอนตั้งตำรับ
สูตรตำรับ
วิธีประเมินตำรับ