Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานของการวิจัย (Foundation of Research) ( ธรรมชาติของการวิจัย…
ความรู้พื้นฐานของการวิจัย
(Foundation of Research)
การจัดกระทำข้อมูล
1) Input
เป็นการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์
2) Processing
เป็นขั้นตอนของการจัดแบ่งประเภทของข้อมูล
3) Output
เป็นขั้นตอนที่นำผลจากการขั้นตอนที่ได้จากขั้น Processingมาเขียนเป็นรายงาน
4) การสรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน
1.ความหมายของการวิจัย
(Meaning of Research)
เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจากอคติส่วนตัว สามารถตรวจสอบได้ที่ผู้วิจัยนำมาใช้ศึกษาค้นคว้าข้อเท็จจริงเพื่อนำไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมหรือพัฒนาเป็นกฎทฤษฏี
จุดมุ่งหมายของการวิจัย
2.1 มุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา
2.2 การวิจัยเป็นการสรุปผลหลักเกณฑ์และทฤษฏีที่
ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
2.3 การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลหรือ
ปรากฏการณ์ที่สังเกตได้มาใช้ในการสรุปผล
แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย
3.1 กฎเหตุและผลของธรรมชาติ
(Deterministic Law of Nature)
เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฏการณ์ใดๆที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอ ๆ
3.2 กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ
(Systematic Law of Nature)
เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฏการณ์ใดๆที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน
3.3 กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ
(Associative Law of Nature)
เป็นแนวคิดที่ระบุว่าในการเกิดปรากฏการณ์ใดๆที่แตกต่างกันนั้นจะมีความมากน้อยของตัวแปรที่เป็นสาเหตุและตัวแปรผลที่แตกต่างกัน
3.4 กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ
(Principle Component of Nature)
เป็นแนวคิดที่ระบุว่าตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้นๆ ไม่ได้เป็นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยว แต่จะมีตัวแปรอื่นๆที่มักจะมาเกี่ยวข้องอยู่เสมอๆ
3.5 กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ
(Probabilistic Law of Nature)
เป็นแนวคิดที่ระบุว่าในปรากฏการณ์ใดๆนั้น ความรู้ความจริง
ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจะเป็นผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ที่มีความน่าจะเป็นในการเกิดขึ้นที่ค่อนข้างสูง
คุณลักษณะของการวิจัย
การวิจัย เป็นวิธีการๆหนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ความจริงด้วยวิธีการทาวิทยาศาสตร์ที่มีระบบและขั้นตอนชัดเจนและมีการกำหนดจุดมุ่งหมายของการวิจัยในแต่ละครั้งอย่างชัดเจนว่าต้องการอะไร
ธรรมชาติของการวิจัย
5.1 การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์
5.2 การวิจัยเป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ
5.3 การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
5.4 การวิจัยมีความเที่ยงตรง
5.5 การวิจัยมีความเชื่อมั่น
5.6 การวิจัยมีเหตุผล
5.7 การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา
5.8 การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่
5.9 การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย
5.10 การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย
ประเภทของการวิจัย
6.1 จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย
6.2 จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล
6.3 จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย
6.4 จำแนกตามลักษณะของวิชาหรือศาสตร์
6.5 จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัย
6.6 จำแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย
6.7 จำแนกตามการจัดกระทำ
ขั้นตอนในการวิจัย
1) เลือกหัวข้อปัญหา
2) การกำหนดขอบเขตของปัญหา
3) การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4) การกำหนดสมมุติฐาน
5) การเขียนเค้าโครงการวิจัย
6) การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
7) ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
ตัวแปรและสมมติฐาน
ความหมายของตัวแปร
คุณสมบัติหรือคุณลักษณะหรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่างๆที่ผู้วิจัยต้องการจะศึกษาหาความจริง ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได
ลักษณะและชนิดของตัวแปร
2.1 ลักษณะของตัวแปร
1) ตัวแปรรูปธรรม
2) ตัวแปรนามธรรม
2.2 ชนิดของตัวแปร
1) ตัวแปรอิสระ
2) ตัวแปรตาม
การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง
สมมติฐาน
ประเภทของสมมติฐาน
แหล่งที่มาของสมมติฐาน
ลักษณะของสมมติฐานที่ดี
การเขียนคำถามวิจัย
(Research Questions)
ประเด็นคำถามเชิงพรรณนา
ประเด็นคำถามเชิงความสัมพันธ์
ประเด็นคำถามเชิงเปรียบเทียบ