Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มที่ 3 การพยาบาลเด็กโรคเลือดและมะเร็ง (การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีร…
กลุ่มที่ 3 การพยาบาลเด็กโรคเลือดและมะเร็ง
ภาวะซีด
สาเหตุ
เสียเลือดมากขึ้น
การแตกทำลายของRBCมากขึ้น
การเจริญเติบโตของRBCผิดปกติ
ไขกระดูกสร้างRBCน้อยลง
มีHb/Hct<ค่าของคนปกติ 2SD
เด็กโตและผู้หญิง = Hb<12 g/dl,Hct<36%
เด็ก3m-4y = Hb<11 g/dl,Hct<33%
อาการ
อ่อนเพลีย ลิ้นเลี่ยน มุมปากอักเสบ เล็บบางและแอ่น
ซีด เหลือง
*
ชีพจรเร็ว
ท้องผูก ท้องเสีย กดเจ็บที่ท้อง ตับม้ามโต
ปวดกระดูก ปวดศีรษะ
การประเมิน
ตรวจร่างกาย
หน้า+โหนกแก้มใหญ่
ผิวซีด เหลือง เยื่อบุตา ปลายนิ้ว เหลือก จุดเลือดออก จ้ำเลือด เล็บบางแอ่น
ลิ้นเลี่ยน เลือดออกตามไรฟัน
ต่อมน้ำเหลืองโต มีป้อน ปวด
หัวใจเต้นเร็ว ตับม้ามโต ข้อมบวม ปวดกระดูก กระดูกหักง่าย
LAB
CBC
Blood smear ดู Hb typing
ESR
Resticulocyte count
Bleeding time
PT PTT
PLT
Tourniquet test
G-6-PD screening test
Hb typing
Coombs' test
bilirubin
ตรวจไขกระดูก
ตรวจต่อมน้ำเหลือง
การตรวจทางรังสี
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการสูญเสียโลหิตได้ง่ายเนื่องจากปัจจัยการแข็งตัวของเลือด/เกล็ดเลือดมีความผิดปกติ
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงและสังเกตภาวะช็อค
สังเกตการมีเลือดออกในอวัยวะอื่นๆ
กรณีมีเลือดออกให้กดบริเวณบาดแผลและประคบด้วยน้ำแข็ง เพื่อทำให้เลือดหยุดไหลให้เร็วที่สุด
ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย เพื่อป้องกันการมีเลือดออก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการแตกทำลายของเม็ดเลือดแดง และมี Bilirubin คั่ง ไตวาย
การพยาบาล
ให้น้ำ NaHCO3 ให้ปัสสาวะมี PH > 6.5 ป้องกัน Uric
ตกตะกอน และไตวาย เพื่อประเมินการทำหน้าที่ของไต
แนะนำป้องการหลีกเลี่ยงปัจจัยที่กระตุ้นให้เม็ดเลือด
แดงแตก เช่น ยาซัลฟา ถั่วปากอ้า การติดเชื้อ เพ่ือไม่ให้มีการแตกทำลายของเม็ดเลือดแดงเพิ่มมากขึ้น
ดูแลให้ได้รับการส่องไฟ เปลี่ยนถ่ายเลือดเพื่อขับ Bilirubin ออกจากร่างกาย
หาสาเหตุของการเกิดภาวะซีดเพื่อวาบงแผนหาทางแก้ไขได้อย่างถูกต้อง
เสี่ยงต่อภาวะขาดออกซิเจน ความทนทานต่อการทำกิจกรรมลดน้อยลง เนื่องจากซีด เหนื่อยง่าย
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลง
ติดตามผลตรวจทางห้องปกิบัติการ
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ต้องใช้พลังงานมาก
กรณีที่ได้รับเลือดให้ติดตามภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะเหล็กเกิน จะต้องให้ยาขับเหล็ก
ประเมินการใช้พลังงาน
ดูแลให้ยาช่วยเสริมสร้าเม็ดเลือด เหล็ก วิตามินบี12 Folate
ดูแลให้ออกซิเจน เพ่ือให้ร่างกายได้รับออกซิเจนมากขึ้น
ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ เพื่อป้องกันการสูญเสียเลือด
หาสาเหตุของการเกิดภาวะซีดเพื่อวาบงแผนหาทางแก้ไขได้อย่างถูกต้อง
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
ดูแลเรื่องอาหาร พักผ่อนเนื่องจากระหว่างได้รับการฉายแสง อาจเกิด คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
ดูแลเรื่องความสะอาดดูแลผิวหนังที่ฉายแสง อาจเกิดการระคายเคือง ติดเชื้อง่าย
ตรวจเลือด ดูระดับ WBC
ดูแลความสะอาด เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
เตรียมเด็กและครอบครัว ให้ข้อมูล ดูแล Support จิตใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
ให้การดูแลเพื่อบรรเทาภาวะแทรกซ้อน
เน้นเรื่องการ Support จิตใจของผู้ป่วยเด็กและครอบครัว
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น ได้แก่ ผมร่วง มีแผลในปาก คลื่นไส้ อาเจียน ติดเชื้อง่าย
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการบำบัดโดยใช้แสง
ปิดตาด้วย วัสดุทึบแสงเพื่อป้องกันตาบอด
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิผิวหนัง V/S สังเกตอาการแทรกซ้อน
เช่นถ่ายเหลว อุจจาระเป็นสีเขียว ปัสสาวะสีเข้ม
ถอดเสื้อผ้า และพลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมงให้ผิวหนังได้รับแสดงอย่างทั่วถึง
ติดตามระดับ Bilirubinเพื่อวางแผนการพยาบาลต่อไป
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการเปลี่ยนถ่ายเลือด
ขณะทำ Keep warm เพื่อป้องกันการเกิดอุณภูมิต่ำ
Record V/S, O2 การหายใจ เพื่อติดตามการเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างการเปลี่ยนถ่าย
NPO, ดูด Gastric content
หลังทำ Record V/S สังเกต Bleeding อาการ Kernicterus
ความสะอาดของอุปกรณ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
คำถาม
กรณีที่เด็กอายุ3 ปี มีภาวะซีด เหลือง พบค่าการแข็งตัวของเลือดช้ากว่าปกติ ความดันโลหิต 98/76 mmHg ตรวจ blood smear พบ เม็ดเลือดแดงเป็นรูปร่างหยดน้ำ ควรให้การพยาบาลใดเป็นสำคัญ
ส่องไฟ
ให้ยาเสริมธาตุเหล็ก
ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
เปลี่ยนถ่ายเลือด