Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 ความเป็นครู-การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
บทที่ 9
ความเป็นครู-การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของครู
ควรมีการส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวย
การศึกษาในยุค Thailand 4.0
ควรมีการสร้างความเข้มแข็งเชิงสถาบัน
จัดให้มีศูนย์ประสานงานเพื่อเจรจาต่อรองราคาในการจัดซื้อจัดจ้างอุปกรณ์เทคโนโลยี
จัดให้มีกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
การจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ
ควรมีการพัฒนโครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพ
การเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียน
ควรมีการพัฒนาเครื่อข่ายทางการศึกษา
การสร้างเครือข่ายในกลุ่มวิชาชีพและความรู้
การเชื่อมโยงเครือข่ายของครูหรือผู้บริหารการศึกษา
การเชื่อมโยงเครือข่ายกับชุมชนธุรกิจและสังคม
Uninet
VECTET
MOENET
เครือข่ายย่อยเพื่อเพิ่มความคล่องตัว
ควรพัฒนาเนื้อหาการเรียน
ต้องสามารถกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดควมใฝ่รู้ มีความคิดวิจรณญาณ ความคิดสร้างสรรค์ พลเมืองโลกที่เข้าใจสังคมและความหลกหลายทางวัฒนธรรม
ควรมีการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน
ปรับปรุงหลักสูตรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัย
ปรับหลักสูตรการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สังคมศาสตร์
ปรับหลักสูตรการเรียนการสอนทักษะภาษา
ควรมีการฝึกอบรมครู ในยุคการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยี ครูเป็นผู้แนะนำเน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง
รู้เท่าทันสื่อ
หัวใจสำคัญของการรู้เท่าทันสื่อ
สื่อมีนัยทางอุดมการณ์และค่านิยม
สื่อมีนัยทางสังคมและการเมือง
เราสามารถต่อรองกับสื่อขึ้นกับความต้องการส่วนตัว และประสบการณ์เดิมของบุคคล
รูปแบบและเนื้อหาของสื่อมีความแตกต่างตามฉบับของตนเอง
สื่อสร้างภาพความเป็นจริง ซึ่งสื่อสร้างขึ้น ตีความ สรุป และสร้างให้
สื่อมีวินัยทางการค้าแอบแฝง
สื่อทั้งหลายล้วนสร้างขึ้นเพื่อสะท้อนความจริงของโลกแบบเรียบง่ายตรงไปตรงมา
สื่อแต่ละประเภทมีรูปแบบทางสุนทรียภาพเฉพาะตัว
ทำไมต้องรู้เท่าทันสื่อ
เป็นการเพิ่มพลังและอำนาจให้แก่ตนเอง ในการควบคุมความเชื่อและพฤติกรรมส่วนตัวของเราได้ เช่น ไม่เชื่อตามโฆษณา
การรู้เท่าทันสื่อ
การใช้สื่ออย่างรู้ตัว
สามารถโต้ตอบกับสื่ออย่างมีสติ
สามารถตั้งคำถามว่าสื่อถูกสร้างขึ้นอย่างไร เช่น ใครเป็นเจ้าของ ใครผลิต
สามารถอธิบายหรือขยายความ ตีความ วิเคราะห์ แยกแยะเนื้อหาสาระของสื่อ
การใช้สื่ออย่างตื่นตัว
ฝ่ายรุกโดยการแสวงหาข้อมูลเพิ่มเติม เข้าถึงสื่อหลากหลายและมีคุณภาพ
สามารถใช้สื่อให้เกิดประโยชน์ มีส่วนร่วมในการพัฒนาสื่อต่าง ๆให้ดีขึ้น
การพัฒนาทักษะการเรียนรู้
การวิเคราะห์
ตีความเนื้อหาตามองค์ประกอบแบบฟร์อมของสื่อ
การประเมินค่าสื่อ
เป็นผลจากการวิเคราะห์สื่อที่ผ่านมา
การเข้าถึง
เป็นการได้รับสื่อประเภทต่าง ๆ อย่างเต็มที่และรวดเร็ว
การสร้างสรรค์
เรียนรู้สื่อรวมถึงพัฒนาทักษะการสร้งสื่อ
ขั้นตอนการรู้เท่าทันสื่อ
การเรียนรู้ทักษะเฉพาะในกรวิเคราะห์สื่อ
การค้นหาประเด็นในระดับลึกขึ้น วัตถุประสงค์ของการผลิตสื่อ
ควมตระหนักถึงความสำคัญของกรเลือกและลดเวลาในการชมโทรทัศน์ เล่นเกมส์
หมายถึง การอ่านสื่อให้ออกเพื่อพัฒนาทักษะ
การวิเคราห์สื่อ
การเข้าใจสื่อหรือการอ่านสื่อหรือตีความสื่อ
มิติการรับสื่อ ประสาทสัมผัสทั้ง 5
การประเมินค่า
การใช้สื่อให้เกิดประโยชน์