Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
MCA with HI with Open Fracture mandible with laceration wound Right Pinna
MCA with HI with Open Fracture mandible with laceration wound Right Pinna
การผ่าตัด
Debridement with Suture right pinna (25/1/63) การตกแต่งบาดแผลและเย็บบาดแผลที่ใบหูข้างขวา
อาการสำคัญ
สลบจำเหตุการณ์ไม่ได้ รถมอเตอร์ไซต์คว่ำ 8 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
Refer จากโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ ขับรถมอเตอร์ไซต์ล้มเอง สลบจำเหตุการณ์ไม่ได้ กู้ภัยนำส่งโรงพยาบาลหนองหญ้าไซมี Open Fracture mandible with laceration wound Right Pinna จึง Refer มาโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
1 ปีก่อน ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงรักษาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ
ประเมินผู้ป่วยตามแบบแผนสุขภาพ
อาหารและการเผาผลาญสารอาหาร
27 มกราคม 2563 ผู้ป่วย NPO 28 มกราคม 2563 รับประทานอาหารเหลว
การตรวจร่างกาย : บริเวณปากมีแผลที่ขอบปากบนและล่าง ฟันโยกผู้ป่วยบอกว่า ปวดฟันมากแต่ไม่มีผลต่อการรับประทานอาหาร ลักษณะท้อง ท้องไม่อืด กดนิ่ม Bowel sound 7 ครั้ง/นาที
กิจกรรมทางกายและการออกกำลังกาย
การตรวจร่างกาย : ตรวจความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ แข็งแรงดี ไม่พบอาการบวมแข็งของข้อ หน้าอกมีลักษณะเขียวคล้ำจากการโดนแรงกระแทก ลักษณะการหายใจไม่สัมพันกับทรวงอก เคลื่อนไหวได้น้อย คลำพบ Subcutaneous emphysema เคาะ พบเสียงโป่ง hyperresonance ฟังไม่พบเสียงผิดปกติ
การพักผ่อนนอนหลับ
การตรวจร่างกาย : ผู้ป่วยมีอาการง่วงซึม อ่อนเพลียบ้างเป็นบ้างวัน ปฏิเสธอาการผิดปกติในการนอน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการตรวจพิเศษ
CBC,BUN,Creatinine,Anti-HIV
การรักษาและเหตุผลการรักษา
ciprofloxacin 400 mg vein ทุก 12 ชั่วโมง
Morphine 3 mg vein ทุก 4 ชั่วโมง
Plasil 10 mg vein prn ทุก 6 ชั่วโมง
Tramol 50 mg vein prn ทุก 6 ชั่วโมง
valium 10 mg vein
พยาธิสรีรภาพของผู้ป่วย
Head injury
สลบจำเหตุการณ์ไม่ได้ 1 ชั่วโมง มีแผลฉีกขาดบริเวณใบหูและกรามล่าง E3V5M6 Pupil 2 mm React to light both eyes แขนขา grade 4 สัญญาณชีพ T = 37.6 องศา P = 74 /min R = 20 /min BP = 132/70 mmHg ไม่มีคลื่นไส้ อาเจียน
Fracture mandible
การผ่าตัด Debridement with Suture right pinna (25/1/2563)
การผ่าตัด Open Reduction Internal Fixation with miniplates Intermaxillary fixation with Debridement suture with tooth extraction(30/1/2563)
pneumothorax
หน้าอกมีลักษณะเขียวคล้ำจากการโดนแรงกระแทก ลักษณะการหายใจไม่สัมพันกับทรวงอก เคลื่อนไหวได้น้อย ปอดข้างขวาขยายตัวได้น้อย มีอาการแน่นหน้าอก หายใจหอบเหนื่อย คลำพบ Subcutaneous emphysema ด้านขวา เคาะพบเสียงโป่ง hyperresonance ฟังไม่พบเสียงผิดปกติ
การวินิจฉัยโรค
Chest X-ray พบ Pneumothorax ข้างขวา
การรักษา
ผู้ป่วยได้รับการใส่ท่อระบสยทรวงอก (intercostal chest drainage) เพื่อระบายลมออกจากช่องเยื่อหุ้มปอด แบบ 2 ขวด ให้ On cannular 3-5 LPM
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการพร่องออกซิเจน เนื่องจากประสิทธิภาพในการระบายอากาศลดลง
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากมีแผลท่อระบายทรวงอกที่ปอดขวา
เสี่ยงต่อการทำงานไม่มีประสิทธิภาพของระบบระบายทรวงอก เนื่องจากมีการอุดกั้นของท่อระบายทรวงอก
ปวดเนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บจากการ On ICD
ญาติมีความมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
วิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้เรื่องการดูแลตนเองก่อนและหลังผ่าตัด