Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คลอดไหล่ยาก (Sholer dystocia) (การประเมินสภาพ (การตรวจร่างกาย…
คลอดไหล่ยาก
(Sholer dystocia)
การวินิจฉัย
Turtle sign
(คางแนบติดแน่นกับบริเวณปากช่องคลอด)
กลไกการคลอด
พบ : ไหล่หลังอยู่ใต้ต่อ promonyary of sacrum ไหล่หน้าอยู่เหนือระหว่างรอยต่อกระดูกหัวเหน่า(Symphysis pubis)
ความหมาย
ภาวะที่มีการติดแน่นของไหล่ บริเวณใต้กระดูกหัวเหน่า ศรีษะของทารกสามารถคลอดได้ปกติ ไม่สามารถคลอดไหล่และลำตัวออกมาได้
เกณฑ์การประเมิน
ใช้เวลาคลอดศีรษะและลำตัวมากกว่าหรือเท่ากับ60วินาที
และ/หรือ มีการใช้สูติศาสตร์หัตการ
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ระยะก่อนคลอด
BMI มากกว่าหรือเท่ากับ 30 kg/m^2
หรือน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติขณะท้อง
มารดา GDM
มีประวัติคลอดไหล่ยาก
ช่องเชิงกรานแคบหรือเป็นชนิด
Ptatypelloid pevis
ทารก นน . ตั้งแต่ 4000 กรัมขึ้นไป
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
โรคประจำตัวต่างๆ เช่น DM,ครรภ์เกินกำหนด
การตรวจร่างกาย
การตรวจขนาดหน้าท้อง เพื่อคาดคะเนน้ำหนักทารก
PV:ไม่มีความก้าวหน้าของการเคลื่อนต่ำเข้าสู่เชิงกรานของศีรษะทารกหรือพบก้อนโนที่ศีรษะทารก และมีการเกยกันของกระโหลกศีรษะทารกมากกว่าปกติ ร้วมกับศีรษะของทารกอยู่สูง
สังเกตุช่องคลอด : Head Crown แล้วไม่มีการเคลื่อนต่ำลงมาเมื่อมดลูกมีการหดรัดตัว (Turtle sign)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจหาความสมบูรณของเม็ดเลือด
ตรวจหาหมู่เลือด
ภาวะจิตสังคม
ประเมินความรู้สึกวิตกกังวลและความหวาดกลัวของผู้คลอดเกี่ยวกับอันตรายจากการคลอดไหล่ยาก
การพยาบาล
มารดา
ประเมิน V/S มารดา ขณะได้รับการทำคลอดไหล่ยากทุก 5 นาที หรืออย่างต่อเนื่อง ภายหลังช่วยคลอดไหล่ยากทุก 15 นาทีใน 1 ชั่วโมงแรกทุก 30 นาที ในชั่วโมงที่ 2 และทุก 4 ชั่วโมงใน24 ชั่วโมงแรก
ประเมินแผลฝีเย็บและช่องทางคลอด
ประเมินระดับยอดมดลูกและการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินความเจ็บปวดจากการใช้เครื่องมือต่างๆในการทำหัตถการและให้ได้รับยาแก้ปวด
ประเมินกระเพราะปัสสาวะและรู้ขับปัสสาวะ
ประเมินทางด้านจิตใจและการประคับประคองจิตใขของมารดา เพื่อลดความวิตกกังวล
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลให้ได้รับยา ATB ตามแผนการรักษา
การบันทีกเหตุการณ์ต่างๆรวมถึงการดูแลรักษาตามขั้นตอนที่ถูกต้องตรงเวลา
ทารก
เฝ้าระวังภาวะขาดออกซิเจนการติดเชื้อการบาดเจ็บจากการช่วยคลอดด้วยหัตถการต่างๆ
ประเมิน Apgar score และให้การช่วยเหลือเมื่อเกิด Birth asphyxia
ให้ออกซิเจนแก่ทารกอย่างเพียงพอด้วยการประเมินผ่าน Pule oximeter อย่างต่อเนื่อง
ประเมินร่างกายทารกว่ามีการได้รับบาดเจ็บหรือไม่
ดูแลให้ได้รับความอบอุ่นเพื่อป้องกันภาวะBirth asphyxia
ประสานงานกับหน่วย NICU เพื่อส่งย้ายทารกไปรักษาอย่างต่อเนื่อง
ประสานกับกุมารแพทย์ เพื่อแจ้งกล่าวต่อมารดาและหรือญาติเพื่อรับทราบและเข้าใจเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและเพื่อให้มีส่วนร่วมต่อการตัดสินใจที่ได้รับการดูแลรักษาทารกแรกเกิด
การบันทีกเหตุการณ์ต่างๆรวมถึงการดูแลรักษาตามขั้นตอนที่ถูกต้องตรงเวลา
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
ตกเลือดหลังคลอด
เกิดฉีกขาดบริเวณช่องคลอด ฝีเย็บ ปากมดลูก
ได้รับการบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะ
ติดเชื้อหลังคลอด
มีทัศนคติไม่ดีต่อการคลอดยาก
ทารก
Hypoxia,Hypoxemia
ได้รับบาดเจ็บเช่นกระดูกไหปลาร้า/กระดูกต้นแขน
Erb-Dunchene oases พบ 80%
Complete bracial plexus injury
Klumpke palsy