Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบตุรยาก (Infertility) (บทบาทพยาบาล (1.ประเมินความรู้สึก…
ภาวะมีบตุรยาก
(Infertility)
ความหมาย
•การที่คู่สมรสไม่สามารถมีการตั้งครรภ์ได้
โดยที่มีความสัมพันธ์กันอย่างสม่ำเสมอเเละไม่ได้คุมกำเนิดมาเป็นระยะเวลา 1 ปี
เเบ่งออกเป็น 2 เเบบ
ภาวะมีบุตรยากเเบบปฐมภูมิ
การที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากที่ได้พยายามเเล้วเป็นเวลานานกว่า 12 เดือน
ภาวะมีบุตรยากเเบบทุติยภูมิ
การที่ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อนหลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลยเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
สาเหตุ
จากฝ่ายหญิง
การทำงานของรังไข่ผิดปกติ
ท่อนำไข่
Endometriosis
Immunological
Other
จากฝ่ายชาย
Sperm dysfunction เช่น เชื้ออสุจิ น้อย มีรูปร่างผิดปกติ หรือมีการเคลื่อนไหวน้อย
Sexual factors
Other
รวมไปถึง ภาวะทางด้านจิตใจ เช่นความเครียด ความวิตกกังวล
ความสามารถในการมีบุตร
• อายุฝ่ายหญิง 21-25 ปี ความสามารถมีบุตรได้สูง
• อายุฝ่ายชาย อายุ >55 ขึ้นไปจะมีความผิดปกติของอสุจิมากขึ้น
• ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ที่เหมาะสมคือ 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยาก
ในฝ่ายหญิง
การซักประวัติ
ประวัติการมีประจำเดือน
ได้รับอุบัติเหตุเเละการผ่าตัด
การเเต่งงานเเละการมีบุตร
การมีเพศสัมพันธ์เเละการคุมกำเนิด
การตรวจร่างกาย
• การตรวจร่างกายทั่วไป
~Secondary sex
~โรคทางอายุรกรรมที่เป็นสาเหตุให้มีบุตรยาก
• การตรวจต่อมไร้ท่อ (Hypothalamus, Pituitary, Thyroid)
• ช่องคลอด
• มดลูก
• รังไข่
• เชิงกราน
•เต้านม
• การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
~ เยื่อพรหมจารีเเละช่องคลอด ได้เเก่ PV, Wet smear, Culture)
ผลทางห้องปฏิบัติการ
CBC
Hormone
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ >>PCT
ในฝ่ายชาย
การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
โรคคางทูม
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การสูบบุหรี่
ดื่มเเอลกอฮอลล์
การมีเพศสัมพันธ์เเละความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์
การได้รับอุบัติเหตุ การผ่าตัด เเละการได้รับกระทบกระเทือนที่อวัยวะสืบพันธ์
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป เเละการตรวจระบบสืบพันธ์
หนังหุ้มปลายองคชาต
ลักษณะเเละรูเปิดของท่อปัสสาวะ
ลักษณะรูปร่างอัณฑะ
หลิดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
ผลทางห้องปฏิบัติการ
CBC
Hormone
*ตรวจน้ำอสุจิ
ค่าปกติ
น้ำเชื้อ (Vol) 2 cc หรือมากกว่า
ความเป็นกรด-ด่าง (pH) 6-8
จำนวนอสุจิ/ซีซี (Count/cc.) 20 ล้านตัว/cc. หรือมากกว่า
การเคลื่อนไหว (Motility) 50% หรือมากกว่า
ลักษณะรูปร่าง (Morphoiogy) 50% หรือมากกว่า
การตรวจอสุจิ
งดมีเพศสัมพันธ์ก่อนวันตรวจ 2-7 วัน
นำน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน 1 ชม. ภายหลังที่เก็บได้
ใส่ภาชนะที่เตรียมให้เท่านั้น
ไม่เเนะนำให้มีเพศสัมพันธ์ก่อนเเล้วหลั่งข้างนอกหรือใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากอาจมีสารที่ทำลายอสุจิได้
ภาวะมีบุตรยากไม่ทราบสาเหตุ
คือ คู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหาสาเหตุของการมีบุตรยากแล้วจนครบตามมาตรฐานเเล้ว
เเต่ไม่พบความผิดปกติ
การรักษา
รักษาภายใน
IUI
(Intra-uterine insemination)
วิธีทำ
• ต้องมีน้ำเชื้ออสุจิที่ผ่านการคัดกรองมาเเล้ว 5 ล้านตัวขึ้นไป
• เเพทย์ใช้ยากระตุ้นให้มีไข่ตกมากกว่าหนึ่งใบเพื่อเพิ่มโอกาสตั้งครรภ์ให้มากขึ้น
• ฉีดน้ำเชื้อเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่ อสุจิว่ายจากโพรงมดลูกไปทางท่อนำไข่เเละผสมกับไข่ด้วยตัวเอง
ข้อบ่งชี้
ผู้ชาย มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ เช่น มีจำนวนน้อย
ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตัน
GIFT
(Gamete Intrafallopian Transfer
คือ การนำไข่เเละเขื้ออสุจิไปใส่ในท่อนำไข่ หลังจากกระตุ้น
วิธีทำ
หลังจากกระตุ้นไข่เพื่อชักนำให้/ข่สุกหลายใบเเละเจาะดูดไข่ออกมาเเล้วนำไข่ที่ได้ 3-4 ใบมารวมกับอสุจิที่ผ่านการขัดเเยกเเล้ว
จากนั้นฉีดผ่านเข้าไปในท่อนำไข่ทันที
ข้อบ่งชี้
ฝ่ายหญิงต้องมีท่อรังไข่ที่ปกติอย่างน้อย 1 ข้าง
ฝ่ายชายต้องมีอสุจิอ่อนเเอไม่มาก
รักษาภายนอก
ZIFT
(zygote Intrafallopian Tansfer)
เป็นการเก็บไข่เเละอสุจิ มาผสมกันให้เกิดปฏิสนธินอกร่างกาย
ก่อนเเละเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 1วัน เเล้วจึงนำตัวอ่อนในระยะ zygote ใส่กลับเข้าไปผ่านทางหน้าท้อง ใส่ไปในท่อนำไข่
ข้อบ่งชี้
ฝ่ายชาย อสุจิน้อยกว่าปกติ
ฝ่ายหญิงท่อนำไข่ไม่ตัน เเต่ทำงานผิดปกติ
IVF
(Vitro Fertilization)
เป็นการปฏิสนธินอกร่างกายเเละการย้ายตัวอ่อน หรือทั่วๆไปเรียกกันว่า
เด็กหลอดเเก้ว
ไข่เเละเชื้ออสุจิที่ผ่านกลารเตรียมเเล้ว จะถูกนำมาผสมกันเพื่อให้เกิดการปฎิสนธินอกร่างกาย
เเล้วจึงนำตัวอ่อนในระยะ 4-8 เซลล์ ใช่เวลาเลี้ยง ประมาณ 2-5 วัน
จากนั้นนำตัวอ่นที่ได้ใส่เข้าไปในโพรงมดลูกเพื่อให้มีการเจริญเติบโตต่อไป
ข้อบ่งชี้
ฝ่ายหญิง ท่อนำไข่ตับตันทั้งสองข้าง เยื่อบุโพรงมูดลูกเจริญผิดที่
ฝ่ายชายเชื้ออสุจิไม่เเข็งเเรง
ICSI
(Intracytoplasmic Sperm Injecton)
เป็นการฉีดอสุจิเพียง 1 ตัว เข้าไปในไข่ 1 ใบ โดยตรง
หลังจากฉีดอสุจิเข้าไปจะเกิดการปฏิสนธิเป็นตัวอ่อนขึ้นมา
เหมาะสำหรับผู้ชายที่มีสเปิร์มน้อยมากๆ
ข้อบ่งชี้
ตัวอสุจิน้อยมากๆ
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี
เป็นหมัน
บทบาทพยาบาล
1.ประเมินความรู้สึก เเละทราบปัญหา
2.เปิดโอกาสให้คู่สมรสได้เลือกช่วงที่จะทำการตรวจวินิจฉัย
3.อธิบายให้เข้าใจถึงขั้นตอน วิธีการ ระยะเวลาค่าใช้จ่าย ภาวะเเทรกซ้อน
4.ให้กำลังใจ เเละสร้างความมั่นใจ
5.ให้ปฏิบัติตามคำเเนะนำอย่างเคร่งครัดเเละมาพบแพทย์ทุกครั้งที่มีการนัดหมาย
6.ให้คู่สมรสได้ปรึกษาเเละพูดคุยกับเเพทย์เเละพยาบาลจนสิ้นสุดการรักษา
7.ควรเเนะนำให้คู่สมรสทำจิตใจให้สบาย ไม่เคร่งเครียด หรือวิตกกังวลมากจนเกินไป
8.เเนะนำให้ดูเเล เเละบำรุงร่างกายให้สมบูรณ์เเข็งเเรงอยู่เสมอ
9.แนะนำให้สมาชิกทุกคนในครอบครัวเเละสามีเป็นจำลังใจ
10.อธิบายให้ทราบถึงความเจ็บป่วยที่อาจต้องเผชิญทั้งด้านร่างกายเเละจิตใจ