Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gut obstruction (1.ข้อมูลของผู้ป่วยที่เกี่ยวข้อง กับการเจ็บป่วยครั้งนี้…
Gut obstruction
1.ข้อมูลของผู้ป่วยที่เกี่ยวข้อง
กับการเจ็บป่วยครั้งนี้
เคี้ยวอาหารไม่ละเอียด ฟันผุ
ดื่มน้ำวันละ 1000 ML
ปัสสาวะวันละ 5-6 ครั้ง
ดื่มสุราวันละ 250 ML และดื่มเครื่องดื่มชูกำลังวันละ 150 ML
ท้องผูก ท้องอืด ไม่ถ่ายอุจจาระ 3 วัน
ไข้ 38.6 •c
ปวดท้องบริเวณด้านซ้ายปวดตลอดเวลา
สูบบุหรี่ 5 มวน ต่อวัน
ผู้ป่วยเป็นผู้สูงอายุ
5.การพยาบาลสำหรับผู้ป่วยและเหตุผลทางการพยาบาล
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเพื่อติดตามอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
สารน้ําและ electrolyte
ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลอิเล็กโทรไลต์ของผู้ป่วย เพื่อดูความสมดุลของน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
บันทึกสารน้ําเข้า-ออก เพื่อประเมินการทำงานของไตเปรียบเทียบสารน้ำทั้งหมดที่เข้าและออกจากร่างกาย
สังเกตอาการของภาวะขาดน้ำ เช่น ปากแห้ง อ่อนเพลีย ปัสสาวะน้อย หายใจเร็ว
ปวดท้อง
จัดท่าจัดท่า Fowler's position เพื่อให้หน้าท้องหย่อนลดอาการ ปวดตึง
งดน้ำ งดอาหาร เพื่อลดการกระตุ้นการทำงานของลำไส้ เนื่องจากเมื่อลำไส้มีการบีบตัวจะทำให้มีอาการปวดท้องมากขึ้น
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อบรรเทาอาการปวดท้อง
ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย ด้วย pain score เพื่อประเมินความรุนแรงของผู้ป่วย
ดุแลให้ได้รับยาลดกรดในกระเพาะอาหารเนื่องจากกรดจะทำลายเยื่อยุกระเพาะอาหารและทำให้ปวดท้องมากยิ่งขึ้น
ท้องอืด
ตรวจสอบการทำงานของ NG tube ให้ทำงานอยู่เสมอ เพื่อระบายแก๊ส ลดอาการท้องอืด
ไข้
เช็ดตัวตามหลักการ tepid spong หากมีอุณหภูมิ 37.5 •c ขึ้นไป เนื่องจากน้ำจะเป็นตัวพาความร้อนออกจากร่างกาย
ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์ เพราะน้ำจะทำให้อุณภูมิในร่างกายลดลง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อทำให้แบคทีเรียในลำไส้อ่อนเเรง ไม่เจริญเติบโตและตายลง
ดูแลให้ได้รับยา paracetamol ตามแผนการรักษาของแพทย์ หากมีอุณหภูมิ 37.8 •c ขึ้นไป เพื่อลดอุณหภูมิภายในร่างกาย
3.อาการแและอาการเเสดงที่พบเกิดจากกลไกตามพยาธิสรีระวิทยา
ปวดท้องทางด้านซ้าย
เนื่องจากมีกากอาหารอยู่ในลำไส้ร่างกายจึงกระตุ้นให้เกิดการบีบตัวของลำไส้แต่ไม่สามารถที่จะขับกากอาหารออกมาได้ ทำให้เกิดอาการปวด
ท้องอืด
ร่างกายไม่สามารถขับลม ออกมาจากร่างกายได้ทำให้มี แก๊สสะสมอยู่มากจนท้องอืด
ท้องผูก
เนื่องจากผู้ป่วยเป็นผู้สูงอายุ มีฟันผุ จึงเคี้ยวอาหารไม่ละเอียดทำให้กระบวนการย่อยอาหารไม่ดี กระบวนการดูดซึมอาหารในร่างกายผิดปกติ สิ่งคัดหลั่งไม่สามารถเคลื่อนไปตามลำไส้ได้ทำให้เกิดอาการท้องผูกและอุดตัน
เนื่องจากผู้ป่วยมีโรคประจำตัวคือโรคความดันโลหิตสูง การไหลเวียนเลือดในร่างกายผิดปกติ ทำให้การไหลเวียนเลือดตลอดทางเดินอาหารลดลง เยื่อบุทางเดินอาหารเสื่อมลงกระบวนการดูดซึมอาหารในร่างกายผิดปกติ สิ่งคัดหลั่งไม่สามารถเคลื่อนไปตามลำไส้ได้ทำให้เกิดอาการท้องผูกและอุดตัน
เนื่องจากผู้ป่วยดื่มเครื่องดื่มชูกำลังทำให้การเคลื่อนไหวของลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่ลดลง กระบวนการดูดซึมอาหารในร่างกายผิดปกติ สิ่งคัดหลั่งไม่สามารถเคลื่อนไปตามลำไส้ได้ทำให้เกิดอาการท้องผูกและอุดตัน
.
มีไข้
เนื่องจากมีอุจจาระคั่งค้างภายในลำไส้ อุจจาระเป็นของเสีย เป็นแหล่งสะสมของเชื้อแบคทีเรียจึงอาจมีภาวะติดเชื้อได้ เมื่อมีการติดเชื้อร่างกายจะมีการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันเป็นการต่อต้านการติดเชื้อแบคทีเรียคือมีอุณภูมิร่างกายที่สูงขึ้น
4.ปัญหาการเจ็บป่วยสำหรับผู้ป่วยรายนี้
มีอาการปวดท้องเนื่องจากลำไส้อุดตัน
s : ผู้ป่วยบอกว่าปวดท้องด้านซ้ายมากปวดตลอดเวลา
.
o : ตรวจ Abdomen Palpation: Tendeness at left inguinal area
s: ผู้ป่วยบอกว่า "ไม่ถ่ายอุจจาระมา 3 วัน"
มีไข้เนื่องจากติดเชื้อแบคทีเรียภายในลำไส้
o : T = 38.6 •c
o : WBC = 20.85 10^3/ul สูง
Neutrophil 87.8 % สูง
Lymphocyte 5.7 % ต่ำ
มีภาวะท้องอืด เนื่องจากร่างกายไม่สามารถขับแก๊สออกมาได้ตามปกติ
s : ผู้ป่วยบอกว่า "ท้องอืด"
s: ผู้ป่วยบอกว่า "ไม่ถ่ายอุจจาระมา 3 วัน"
o : ตรวจ Abdomen Auscultation: hypoactive bowel sound
2.ข้อมูลสนับสนุนที่เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วยครั้งนี้
การตรวจทางท้องปฏิบัติการ
WBC 20.85 10^3/ul (สูง) เนื่องจากมีการติดแบคทีเรียในร่างกาย
Neutrophil 87.7% (สูง) เนื่องจากมีการติดแบคทีเรียในร่างกาย
Lymphocyte 5.7% (ต่ำ)เนื่องจากมีการติดแบคทีเรียในร่างกาย
การตรวจร่างกาย
Abdomen
Auscultation : hypoactive bowel sound
Palpation : Tenderness at left lnguinal area
v/s
BT 38.6
BP 165/90 mmhg
PR 102 bpm
RR 22 bpm