Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 การจัดการความขัดแย้ง (การแก้ไขความขัดแย้ง การแก้ปัญหาความขัดแย้…
หน่วยที่ 7 การจัดการความขัดแย้ง
ความหมายของความขัดแย้ง (Definition of conflict)
ความขัดแย้ง หมายถึง ลักษณะการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่มหรือองค์การ
1) มีการกำหนดวัตถุประสงค์หรือวิธีการดำเนินการที่แตกต่างหรือตรงกันข้ามกัน
2) มีการรับรู้ว่า บุคคล กลุ่ม หรือ องค์การอื่นเป็นสิ่งที่รบกวนและขัดขวางต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของตน
Robert Kreitner (2010) ความขัดแย้ง หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่ตรงกันข้ามกัน หรือลักษณะการปฏิสัมพันธ์ที่เป็นปรปักษ์ต่อกัน โดยอาจจะมีสมมติฐานมาจากความไม่เท่าเทียมกันด้าน อำนาจ ทรัพยากร ตำแหน่งทางสังคม หรือการแตกต่างกันในด้านโครงสร้างของค่านิยม
Stephen P. Robbins (1994) ความขัดแย้ง หมายถึง ความรู้สึกซึ่งเกิดจากการรับรู้ว่ามีความแตกต่าง ซึ่งไม่สามารถเข้ากันได้ โดยเป็นผลมาจากการรบกวน หรือบางอย่างที่อยู่ตรงกันข้ามกัน
Rapparport cited by Caplow (1975) ความขัดแย้ง เป็น การต่อสู้ เกมส์ และการโต้เถียง ความขัดแย้งเป็นเชิงลบและเชิงบวกก็ได้
ความขัดแย้ง (Conflict) หมายถึง เหตุการณ์ที่ปรากฏขึ้นเมื่อ เมื่อบุคคลหรือทีมมีความเห็นไม่สอดคล้องกัน และผลประโยชน์ที่ไม่ลงตัวของบุคคล ทีม หรือ องค์กร 2 ฝ่าย
แนวคิดเรื่องความขัดแย้ง
แนวคิดสมัยดั้งเดิม (Traditional View)
ความขัดแย้งเป็นสิ่งไม่ดี และมีผลกระทบด้านลบต่อองค์การอยู่เสมอ
แนวคิดด้านมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relations View)
ความขัดแย้งอาจจะเกิดขึ้นตาม ธรรมชาติ และหลีกเลี่ยงไม่ได้ภายใน ทุกองค์การ
แนวคิดสมัยใหม่ (Contemporary View)
ความขัดแย้งเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ความขัดแย้งสามารถส่งผลทั้งด้านบวกและด้านลบแก่องค์กร ทำให้องค์กรไม่หยุดนิ่ง
ประเภทของความขัดแย้ง (Type of conflict)
ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
ความขัดแย้งระหว่างปัจเจกบุคคลกับกลุ่ม เป็นความขัดแย้งภายในกลุ่ม
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มหรือทีม
ความขัดแย้งระหว่างองค์กร
ลักษณะของความขัดแย้ง
T.L. Ruble and R. A. Cosier
ความขัดแย้งด้านเป้าหมาย
ความขัดแย้งด้านสติปัญญา
ความชัดแย้งด้านอารมณ์และความรู้สึก
สาเหตุของความขัดแย้ง
สภาพแวดล้อมต่างกัน
การมีผลประโยชน์ขัดกัน
ความคาดหวังในบทบาทต่างกัน
การมีอคติ
การมีปทัสถาน ค่านิยม และการรับรู้ที่ต่างกัน
การปฏิสัมพันธ์
มูลเหตุของความขัดแย้งในองค์กร
ความแตกต่างกัน
การบิดเบือนด้านข่าวสารข้อมูล
การแบ่งปันทรัพยากร
ความเกี่ยวพันระหว่างงานที่ทำ
ความไม่ชัดเจนในงานและบทบาท
ความกดดันในเรื่องเวลา
ระบบการให้ผลตอบแทน
การเปลี่ยนแปลงที่ไม่แน่นอน
ผลดี ผลเสียของความขัดแย้ง
ผลดีของความขัดแย้ง
ก่อให้เกิดการตระหนักและรับรู้ในปัญหาที่เกิดขึ้น
ความขัดแย้งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ
ความขัดแย้งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ
ผลเสียของความขัดแย้ง
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเสื่อมลงไป
บรรยากาศของความจริงใจ และความไว้วางใจ จะหมดสิ้นไป
เกิดการต่อต้านทั้งโดยลับและเปิดเผย
การแก้ไขความขัดแย้ง การแก้ปัญหาความขัดแย้ง
แพ้ แพ้ (lose lose approach) ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคือแพ้ด้วยกันทั้งสองฝ่าย
ชนะ แพ้ (win lose approach) ฝ่ายหนึ่งจะพยายามใช้อำนาจ หรือ ความสามารถของตนในการเอาชนะอีกฝ่าย
ชนะ ชนะ (win win approach) กลยุทธ์นี้ เป็นที่่ต้องการมากที่สุดของบุคคลและองค์การ
การชี้นำและการกดดัน
การประนีประนอม
การอาศัยคะแนนเสียงแบบเอกฉันท์
การใช้กระบวนการแก้ปัญหา
การปรับปรุงโครงสร้างและสายงานใหม่
การปรับปรุงกระบวนการวินิจฉัยสั่งการ
การสร้างเป้าหมายร่วมกัน
การแสวงหาทรัพยากรเพิ่มมากขึ้น
รูปแบบพฤติกรรมการแก้ไขความขัดแย้ง
พฤติกรรมที่มุ่งความพึงพอใจของผู้อื่น
พฤติกรรมที่มุ่งประโยชน์ตน
การหลีกเลี่ยง (Avoiding/Withdrawing) หรือ เต่า
การโอนอ่อนผ่อนตาม (Accommodating/Smoothing) หรือ ลูกหมี
การแข่งขัน (Competing/Forcing) หรือ ฉลาม
การประนีประนอม (Compromising/Compromise) หรือ สุนัขจิ้งจอก
การร่วมมือซึ่งกันและกัน (Collaborating/Confronting) หรือ นกฮูก
การป้องกันความขัดแย้ง
การเน้นเป้าหมายรวมขององค์การมากกว่าการเน้นเป้าหมายเฉพาะกลุ่ม
การจัดโครงสร้างงานในองค์การให้มีความชัดเจน
พัฒนาระบบการสื่อสารระหว่างสมาชิก
หลีกเลี่ยงการสร้างสถานการณ์แบบมุ่ง แพ้ ชนะ กัน
การกระตุ้นให้เกิดความขัดแย้ง
การเปลี่ยนวัฒนธรรมขององค์การ
การเพิ่มแรงกระตุ้นในการแข่งขันการปฏิบัติงาน
สร้างสถานการณ์ที่เสี่ยงหรือไม่แน่นอนให้เกิดขึ้น
การคัดเลือกผู้บริหารที่เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลง
การปรับโครงสร้างและบรรยากาศขององค์การใหม่
ทักษะที่ต้องฝึกในการแก้ไขความขัดแย้ง
การลดความเครียดได้อย่างรวดเร็ว
การตื่นตัว
เทคนิคการเจรจาลดความขัดแย้ง
ฟังทั้งเสียงและความรู้สึก
แก้ไขความขัดแย้งอยู่เหนือการเอาชนะ
มุ่งเน้นปัจจุบัน
เลือกสนามที่จะต่อสู้
พร้อมให้อภัย
รู้เวลาที่ควรปล่อยวาง