Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา 1 ผู้ป่วยชายไทย อายุ 69 ปี เตียง 9
วินิจฉัยโรค Obstructive CA…
กรณีศึกษา 1 ผู้ป่วยชายไทย อายุ 69 ปี เตียง 9
วินิจฉัยโรค Obstructive CA Rectum: มะเร็งลำไส้ตรงอุดตัน
กรณีศึกษา 2 ผู้ป่วยชายไทย อายุ 62 ปี เตียง 7
วินิจฉัยโรค Colorectum cancer: มะเร็งลำไส้ใหญ่
ระยะของมะเร็ง
ระยะ 0 (carcinoma in situ) ในระยะ 0 ที่เซลล์ที่ผิดปกติจะพบพบเฉพาะบริเวณชั้นผิวเยื่อบุ mucosa ที่อยู่ชั้นในสุด
ระยะที่ 1 มะเร็งในระยะนี้จะอยู่เพียงชั้นเยื่อบุผิว mucosa เเละลุกลามมายังsubmucosa ซึ่งหากได้รับการผ่าตัดจะมีอัตราการรอดชีวิตมากกว่าร้อยละ 90 โดยไม่มีมะเร็งเกิดขึ้นใหม่ภายใน 5 ปี
ระยะที่ 2 มะเร็งระยะนี้จะลึกเลยชั้นกล้ามเนื้อของผนังลำไส้ใหญ่หรือออกไปสู่อวัยวะใกล้เคียงเเต่ยังไม่ลุกลามสู่ต่อมน้ำเหลืองหรืออวัยวะอื่นๆ
-
-
ระยะที่ 3 มะเร็งเระยะนี้จะมีการกระจายออกไปนอกลำไส้ใหญ่สู่ต่อมน้ำเหลืองที่อยู่บริเวณก้อนมะเร็งเเต่ยังไม่มีการกระจายไปสู่อวัยวะอื่นที่อยู่ไกล
ระยะ 3A เซลล์มะเร็งมีการลุกลามจากเนื้อเยื่อชั้นในสุดของผนังลำไส้ใหญ่ไปยังเนื่้อเยื่อในชั้นกลางร่วมกับมีการลุกลามไปยังต่อมน้ำเหลืองข้างเคียงไม่เกิน 3 ต่อม
ระยะ 3B เซลล์มะเร็งมีการลุกลามไปยังต่อมน้ำเหลืองขั้งเคียงไม่เกิน 3 ต่อมร่วมกับมีการลุกลามผ่านเนื้อเยื่อชั้นกลางของผนังลำไส้ใหญ่หรือมีการลุกลามไปยังเนื้อเยื่อบริเวณใกล้ๆ ลำไส้ใหญ่เเละลำไส้ส่วนปลายหรือมีการลุกลามไปยังอวัยวะใกล้ๆ ลำไส้ใหญ่หรือไปยังเยื่อบุช่องท้อง
ระยะ 3C มะเร็งเเพร่กระจายมาถึงชั้นนอก serosa และเเพร่มายังต่อมน้ำเหลือง 4-6 ต่อม หรือมะเร็งเเพร่กระจายมายังชั้นกล้ามเนือยังไม่ทะลุชั้น serosa เเละลามไปยังต่อมน้ำเหลืองมากกว่า 7 ต่อมหรือเเพร่ออกนอกชั้น serosa และเเพร่กระจายไปยังอวัยวะข้างเคียง
-
กรณีศึกษา 1
ผู้ป่วยเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่อยู่ในระยะ1เซลล์มะเร็งลุกลาม ผ่านทะลุชั้นเยื่อบุ แต่ยังไม่ทะลุผ่านเข้าไปในผนังของลำไส้ใหญ่ด้านนอก จากผลCT จากการตรวจทางทวารหนัก คลำพบก้อนขนาด 10เซนติเมตร
กรณีศึกษา 2
ผู้ป่วยเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่อยู่ในระยะ1เซลล์มะเร็งลุกลาม ผ่านทะลุชั้นเยื่อบุ แต่ยังไม่ทะลุผ่านเข้าไปในผนังของลำไส้ใหญ่ด้านนอก จากผลCT พบก้อนขนาด 6.8x6.9x7.1 เซนติเมตร
อาการเเละอาการเเสดง
-
-
-
กรณีศึกษา 1
ผู้ป่วยมีอาการอืดเเน่นท้อง ทั่วท้อง ถ่ายไม่ออก ท้องโตเพิ่มขึ้น ท้องผูกสลับท้องเสีย มีปัสสาวะปนมากับอุจจาระและมีลมออกมา ถ่ายเหลว 4 ครั้ง ลักษณะเป็นมูกปนเลือด
กรณีศึกษา 2
จากกรณีศึกษาผู้ป่วยมีอาการปวดอืดแน่นท้อง มีเลือดปนบางครั้ง รับประทานอาหารไม่ได้ น้ำหนักลดลงประมาณ 30 กิโลกรัม ถ่ายอุจจาระลดลง ลักษณะถ่ายเป็นก้อนเล็กๆ ซึ่งอาจเกิดจากที่ก้อนมะเร็งเจริญเติบโตเข้าไปใน ลูเมนของลำไส้ และทำให้ทางเดินลำไส้แคบตีบตัน
วินิจฉัยโรค
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การตรวจทางการส่องกล้อง (Endscopy, Colonoscopy)
-
กรณีศึกษา 1
ซักประวัติ ผู้ป่วยบอกว่ามีติ่งเนื้อออกทางทวารหนักเวลานั่ง ถ่ายเหลว 4 ครั้ง ลักษณะเป็นมูกปนเลือด มีอาการปกวดอืดเเน่นท้องบริเวณทั่วท้อง ตรวจร่างกาย abdomen: distension soft, tenderness ท้องโตเพิ่มขึ้น
-
การตรวจ Colonoscopy: บริเวณรอบท่อของลำไส้ตรงถูกบีบให้แคบด้วยการหนาตัวของก้อนขนาด 10 เซนติเมตร และบริเวณ sigmoid colon มีการขยายตัวมากขึ้น
กรณีศึกษา 2
ซักประวัติผู้ป่วยบอกว่ามีอาการปวดอืด แน่นท้อง ขับถ่ายไม่ออก ถ่ายอุจจาระลดลง ลักษณะถ่ายเป็นก้อนเล็กๆ เป็นมูกจำนวนมาก มีเลือดปนบางครั้ง รับประทานอาหารไม่ได้ น้ำหนักลดลงประมาณ 30 กิโลกรัม
-
-
-
การรักษา
การผ่าตัด จะทำในผู้ป่วยในระยะ 1,2 เเละ 3
-
การให้เคมีบำบัด ระยะที่ 1 มักใช้การผ่าตัดเพียงอย่างเดียว ระยะที่ 2 ควรพิจารณาให้ยาเคมีบำบัดหลังการผ่าตัดยาที่นิยมใช้ คือ 5-FU
กรณีศึกษา 1
ได้รับการผ่าตัด
จากกรณีศึกษาผู้ป่วยมีการผ่าตัด ครั้งที่ 1 : Right loop transverse colostomy หมายถึง การผ่าตัดนำลำไส้ใหญ่ส่วนกลางมาขวางปิดทางหน้าท้องด้านขวาชั่วคราว วันที่ 22 มกราคม 63
กรณีศึกษา 2
Abdominoperineal Resection หมายถึง การผ่าตัดลำไส้ส่วนปลาย ลำไส้ตรงและกล้ามเนื้อหูรูดทางทวารหนัก วันที่ 23 มกราคม 2563 จากกรณีศึกษาผู้ป่วยมีประวัติได้รับยาเคมีบำบัด และการฉายรังสีก่อนรับการผ่าตัด
-
-
สาเหตุ
-
-
-
กรณีศึกษา 1
ผู้ป่วยอายุ 69 ปี ซึ่งโรคมะเร็งเสี่ยงพบได้ในคนที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป เเละผู้ป่วยยังมีประวัติเคยสูบบุหรี่เเละดื่มสุราเป็นเวลานาน 30 ปี
กรณีศึกษา 2
ผู้ป่วยชายไทยมีอายุ 62 ปี ซึ่งโรคมะเร็งส่วนใหญ่พบในคนอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไปผู้ป่วยมีประวัติน้ำหนักเดิม 100 กิโลกรัม BMI=30.81 น้ำหนักเกินเกินกว่ามาตรฐาน
พยาธิสภาพ
พยาธิสภาพของการเกิดมะเร็งลำไว้ใหญ่การเปลี่ยนเเปลงของเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้ใหญ่จนกลายเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยเเบ่งเป็นลักษณะ ดังนี้
-
-
ก้อนมะเร็งจจะเจริญเติบโตเข้าไปในลำไส้เป็นก้อนมะเร็งที่เจริญเติบโตเข้าไปในลูเมน (lumen) ของลำไส้ใหญ่จนทำให้ทางเดินยของลำไส้เเคบตีบตัน (stenosing)
-
กรณีศึกษา 1
ผู้ป่วยมีอาการปวดอืดเเน่นท้อง บริเวณทั่วท้อง ถ่ายไม่ออก มาเป็นวัน 10 วัน ท้องโตเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเกิดจากทารมีก้อนมะเร็งเจริญเติบโตเข้าไปในลูเมนของลำไส้ และทำให้ทางเดินของลำไส้เเคบตีบตัน
กรณีศึกษา 2
จากกรณีศึกษาผู้ป่วยมีอาการปวดอืดแน่นท้อง ถ่ายอุจจาระลดลง ลักษณะถ่ายเป็นก้อนเล็กๆ ซึ่งอาจเกิดจากที่ก้อนมะเร็งเจริญเติบโตเข้าไปใน ลูเมนของลำไส้ และทำให้ทางเดินลำไส้แคบตีบตัน