Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลักษณะอัตราการเต้นของหัวใจของทารกในครรภ์ (4.Deceleration (แบ่งเป็น 3 ชนิด,…
ลักษณะอัตราการเต้นของหัวใจของทารกในครรภ์
1.Fetal Heart Rate (FHR) base line
อัตราการเต้นของหัวใจทารกในภาวะปกติ
Tachycardia
อัตราเฉลี่ยของอัตราการเต้นหัวใจทารกมากกว่า 160 ครั้ง/นาที (bpm)
Bradycardia
อัตราเฉลี่ยของอัตราการเต้นหัวใจทารกน้อยกว่า 110 ครั้ง/นาที (bpm)
Normal FHR baseline
อัตราเฉลี่ยของอัตราการเต้นหัวใจทารกอยู่ระหว่าง 110 - 160 ครั้ง/นาที (bpm)
ประเมินได้จากการลากเส้นสมมติ ผ่านกึ่งกลางของ tracing โดย baseline ต้องคงที่อยู่อย่างน้อยนาน 10 นาที
2.Variability
อัตราเฉลี่ยของอัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไม่สม่ำเสมอ ในลักษณะของการแกว่งขึ้นลง (amplitude)
Minimal variability
มีการเปลี่ยนแปลงของของการเต้นของหัวใจทารกในลักษณะของการแกว่งขึ้นลง 1-5 ครั้งต่อนาที
Moderate variability
มีการเปลี่ยนแปลงของของการเต้นของหัวใจทารกในลักษณะของการแกว่งขึ้นลง 6 - 25 ครั้งต่อนาที
Absent variability
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของของการเต้นของหัวใจทารกในลักษณะของการแกว่งขึ้นลง
Marked variability
การเปลี่ยนแปลงของของการเต้นของหัวใจทารกในลักษณะของการแกว่งขึ้นลงมากกว่า 25 ครั้งต่อนาที
การมี variability ที่ปกติยังแสดงถึงสภาวะสมดุลของก๊าซออกซิเจนในร่างการทารก
long- term variability
เป็นการเปลี่ยนแปลงการเต้นของหัวใจในแต่ละครั้ง
เป็นลักษณะลูกคลื่นรอบๆการเต้นของหัวใจทารก
มีค่าความสูงปกติ 6-25ครั้ง/นาที
short- term variability
คำนวณจากระยะห่างระหว่าง R wave ในแต่ละครั้งของการเต้นของหัวใจ
เป็นการเปลี่ยนแปลงการเต้นของหัวใจในแต่ละครั้ง
มีลักษณะคล้ายฟันเลื่อยไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าต้องตรวจด้วย scalp electrode
3.Acceleration
การเพิ่มขึ้นของอัตราการเต้นของหัวใจทารกอย่างฉับพลัน
ที่เพิ่มสูงขึ้นจาก baseline อย่างน้อยที่สุด 15 bpm คงอยู่นาน 15 วินาที ภายในระยะเวลาไม่เกิน 30 วินาที
การไม่มี acceleration
การได้รับยาบางชนิด
ภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ทารกหลับ
อายุครรภ์
อายุครรภ์ตั้งแต่ 32 สัปดาห์ขึ้นไป FHR เพิ่มขึ้นจาก baseline อย่างน้อย 10 ครั้งต่อนาทีเป็นเวลาอย่างน้อย 15 วินาทีแต่ไม่ถึง 2 นาที
อายุครรภ์น้อยกว่า 32 สัปดาห์ขึ้นไป FHR เพิ่มขึ้นจาก baseline อย่างน้อย 10 ครั้งต่อนาทีเป็นเวลาอย่างน้อย 10 วินาทีแต่ไม่ถึง 2 นาที
การทำงานของระบบประสาทและหัวใจของทารกเป็นปกติดีอยู่
เพิ่มเติม
Prolonged acceleration หมายถึง การเพิ่มขึ้นของ FHR จาก baseline เป็นเวลาอย่างน้อย 2 นาทีแต่ไม่ถึง 10 นาที
ในกรณีที่ FHR เพิ่มขึ้นจาก baseline เป็นเวลาตั้งแต่ 10 นาทีขึ้นไปถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงของ FHR baseline (baseline change)
พบได้บ่อยเมื่อมี
การดิ้นของทารกในครรภ์
การหดรัดตัวของมดลูก
การตรวจภายใน
มีการคลำทางหน้าท้อง
4.Deceleration
แบ่งเป็น 3 ชนิด
Late deceleration (uteroplacental insufficiency)
อัตราการเต้นของหัวใจทารกจะค่อยๆ ลดลง และเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ โดยตั้งแต่เริ่มเกิด deceleration จนถึงจุดที่อัตราการเต้นของหัวใจลดลงต่ำที่สุดใช้เวลาอย่างน้อย 30 วินาที อัตราการเต้นของหัวใจเริ่มลดลงพร้อมหรือหลังการหดรัดตัวของมดลูกที่สูงที่สุด และกลับสู่ baseline เมื่อสิ้นสุดการหดรัดตัวของมดลูก ส่วนใหญ่จุดเริ่มต้นของ deceleration จุดต่ำสุด และจุดที่กลับสู่ FHR baseline จะเกิดขึ้นตามหลังจุดเริ่มต้นจุดสูงสุด และจุดสิ้นสุดการหดรัดตัวของมดลูกตามลำดับ
Variable deceleration (cord compression)
เป็นรูปแบบของ deceleration ที่พบบ่อยที่สุดในระยะเจ็บครรภ์คลอด มีลักษณะที่จำเพาะคือ การลดลงอย่างรวดเร็วของอัตราการเต้นของหัวใจทารก โดยลดลงถึงจุดต่ำสุดภายในระยะเวลาไม่เกิน 30 วินาที อัตราการเต้นของหัวใจทารกต้องลดต่ำลงนานอย่างน้อย 15 วินาทีแต่ไม่ถึง 2 นาที และลดต่ำลงอย่างน้อย 15 ครั้งต่อนาที การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไม่มีความสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
Early deceleration (head compression)
อัตราการเต้นของหัวใจทารกจะค่อยๆ ลดลง และเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ ตามการหดรัดตัวของมดลูก โดยตั้งแต่เริ่มเกิด deceleration จนถึงจุดที่อัตราการเต้นของหัวใจลดลงต่ำสุด ใช้เวลาอย่างน้อย 30 วินาที ช่วงที่อัตราการเต้นของหัวใจลดต่ำลงที่สุดจะเกิดขึ้นพร้อมกับการหดรัดตัวของมดลูกที่สูงที่สุดมีลักษณะคล้ายภาพสะท้อน
เพิ่มเติม
Prolonged deceleration
การลดลงของอัตราการเต้นของหัวใจทารกอย่างต่อเนื่อง
เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 นาที แต่ไม่ถึง 10 นาที และลดต่ำลงอย่างน้อย 15 ครั้ง/นาที
Sinussodial heart rate pattern
Amplitude 5-15 ครั้ง/นาที
Long-term variability 2-5 รอบต่อนาที
ไม่มี Acceleration
FHR baseline คงที่ 110-160 ครั้ง/นาที
การลดลงของ FHR จาก Baseline FHR อย่างน้อยที่สุด 15 bpm และคงอยู่อย่างน้อย 15 วินาทีแล้วกลับคืนสู่ baseline เดิมเป็นการลดลงชั่วคราว
นางสาวสุธาสินี พรหมทอง 157-6
Miss kham khing bour 242-5
อ้างอิง เยาวลักษณ์ มาก๋า. (2560). เอกสารประกอบการสอน วิชา การพยาบาลมารดา ทารก และผดุงครรภ์ 2 สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562 , จาก
https://administer.pi.ac.th/uploads/eresearcher/upload_doc/2018/academic/1533028318837177006955.docx