Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
External Fetal Monitoring (EFM) (3.การดูแลรักษากรณีที่ตรวจพบการเต้นของหัวใ…
External Fetal Monitoring (EFM)
1.ความหมาย
การเฝ้าสังเกต
การดิ้นของทารกในครรภ์ (fetal movement)
อัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ (fetal heart rate monitoring)
การหดรัดตัวของมดลูกที่ตอบสนองต่อภาวะเครียดหรือสิ่งกระตุ้นต่างๆ
ลักษณะการทำงาน
สัญญาณการทำงานของหัวใจทารกจะถูกนำมาคำนวณออกมาเป็น beat per minute (bpm)
แล้วบันทึกลงในแผ่นกระดาษ (fetal heart tracing) ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1 เซนติเมตร/นาที
และในขณะเดียวกันก็สามารถบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกไปด้วย
เป็นเทคนิคที่ใช้ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ โดยใช้เครื่องตรวจไฟฟ้าซึ่งแสดงให้เห็นถึงสุขภาพของทารกในครรภ์
วิธีการเฝ้าระวังทารกในครรภ์ขณะเจ็บครรภ์คลอด
4.ความแตกต่างระหว่าง EFMและ NST
Nonstress test
มีการประเมิน 1 แบบ
1.อัตราการเต้นของหัวใจทารก เมื่อทารกเคลื่อนไหวขณะที่สตรีตั้งครรภ์อยู่ในระยะพัก และไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก
การประเมินผล
Reactive NST
non-Reactive NST
ทดสอบสุขภาพของทารกในระยะก่อนคลอด
External Fetal Monitoring
มีการประเมิน 3 แบบ
2.การดิ้นของทารกในครรภ์ (fetal movement)
3.การหดรัดตัวของมดลูกที่ตอบสนองต่อภาวะเครียดหรือสิ่งกระตุ้นต่างๆ
1.อัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ (fetal heart rate monitoring)
การประเมินผล
1.Category I
2.Category II
3.Category III
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์และเป็นวิธีการเฝ้าระวังทารกในครรภ์ขณะเจ็บครรภ์คลอด
2.การแปลผล External fetal monitoring
Category III – Abnormal IURและเตรียมคลอด
Absent FHR baseline variability and any of the following:
Recurrent variable decelerations
Bradycardia
Recurrent late decelerations
Sinusoidal pattern
Category I – Normal ให้การดูแลตามปกติ
Late or variability deceleration: absent
Early deceleration: present or absent
Baseline FHR variability: moderate
Acceleration: present or absent
Baseline rate: 110-160 bpm
Category II – Interminate ประเมินหาสาเหตุและเฝ้าระวัง
Baseline FHR variability
Absent baseline variability not accompanied by recurrent deceleration
Marked baseline variability
Minimal baseline variability
Acceleration
Absence of induced acceleration after fetal stimulation
Baseline rate
Tachycardia
Bradycardia not accompanied by absent baseline variability
Periodic or episodic decelerations
Recurrent late deceleration with moderate baseline variability
Variable deceleration with other characteristics, such as slow return to baseline, “overshoots,” or “shoulder”
Recurrent variable deceleration accompanied by minimal or moderate baseline variability
3.การดูแลรักษากรณีที่ตรวจพบการเต้นของหัวใจ
ทารกผิดปกติ (Intrauterine resuscitation)
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำแก่มารดา
หยุดให้ยา Syntocinon และลดปัญหาการหดรัดตัวของมดลูกรุนแรงโดยการให้ยา Terbutaline
ให้ออกซิเจนแก่มารดา mash with bag 10 LPM
ตรวจภายในเพื่อวินิจฉัยภาวะสายสะดือย้อยและประเมินปากมดลูก
จัดท่ามารดาให้นอนตะแคงซ้าย
นางสาวสุธาสินี พรหมทอง 157-6
Miss kham khing bour 242-5
อ้างอิง เยาวลักษณ์ มาก๋า. (2560). เอกสารประกอบการสอน วิชา การพยาบาลมารดา ทารก และผดุงครรภ์ 2 สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2562 , จาก
https://administer.pi.ac.th/uploads/eresearcher/upload_doc/2018/academic/1533028318837177006955.docx