Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริการสุขภาพเชิงรุก (Business In Health care service)…
การบริการสุขภาพเชิงรุก
(Business In Health care service)
แบรนด์ที่เราสื่อออกไปภาพการรับรู้ของผู้คนภายนอกตรงกับที่เรากำหนดหรือไม่
ตรง
ประสบความสำเร็จ
ไม่ตรง
ย้อนดูว่าผิดพลาดตรงไหน ค้นหาปัญหาให้เจอและแก้ไข
การบริการสุขภาพทางธุรกิจ
ผลิตภัณฑ์
-สินค้าซึ่งเป็นสิ่งมองเห็น และจับต้องได้
-บริการที่จับต้องไม่ได้ แต่รับรู้
-สามารถตอบสนองความพอใจของผู้บริโภค
ประเภทของผลิตภัณฑ์(Product Classifications)
ผลิตภัณฑอุปโภค บริโภค(Customer Product)
-ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยขายให้กับผู้บริโภคทั่วไป เพื่อบริโภคเอง
ผลิตภัณฑ์ที่เป็นทางการ(Service Product) ผลิตภัณฑ์ที่เป็นการบริการอย่างแท้จริงโดยสิ่งที่ขายไม่เกี่ยวข้องกับตัวสินค้าใดๆ
-กิจการธนาคาร
-กิจการโรงแรม
-กิจการโรงพยาบาล
ผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม(Industrial Product)
-ผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ขายให้กับผู้ซื้อที่เป็นอุตสาหกรรม แล้วนำมาประกอบเป็นผลิตภัณฑ์ของตัวเองออกขาย
ธุรกิจด้านสุขภาพ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพ
โดยบุคลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาลและจากหน่วยบริการสุขภาพอื่นๆ
-ครอบคลุมถึงกิจกรรมการดูแลสุขภาพ
-การจัดหาที่พักสำหรับการดูแลสุขภาพ
-การสังคมสงเคราะห์โดยไม่ต้องใช้บุคลากรทางการแพทย์
Customer(ลูกค้า)
ผู้ป่วย(Patients)
-คนที่ไม่ป่วย(Healthy)
ผู้บริโภค
-ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholder)
สินค้าสาธารณะ(Pubic goods)
สินค้าที่สมาชิกในสังคมนั้นๆเป็นเจ้าของร่วมกัน
-สินค้านั้นไม่สามารถถูกกีดกันจากการบริโภคได้(Non-excludability)
-สินค้าที่ทุกคนจะได้รับการบริโภคในจำนวนเท่าๆกัน(Non-rivalry)
การบริโภคของบุคคลหนึ่งไม่ทำให้ผู้บริโภคอื่นได้บริโภคสินค้าชนิดนั้นน้อยลง
คุณลักษณะของบริการสุขภาพ
•ความไม่มีตัวตนที่สัมผัสได้ (Intangibility)
•ความไม่สามารถแยกการให้และการรับบริการได้(Inseparability)
•ความแปรปรวนของการให้บริการ (Variability)
•ความไม่สามารถรอได้ (Preishabiltiy)
การบริการ(Service)
“Service is a result of a process or an activity ”
-งานบริการ/การบริการ คือ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการหรือกิจกรรม
องค์กรบริการ
องค์กรใด ๆ ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อ
-ให้บริการแก่ลูกค้าเป็นหลักใหญ่
-รายได้ส่วนใหญ่มาจากค่าบริการ/ค่าธรรมเนียม
-ต้องมีลูกค้ามาสัมผัสโดยตรงกับกิจกรรม/งานบริการ
คุณภาพกับการบริการ
-คุณภาพตามความคิดแบบดั่งเดิม (Classic) ผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานตามที่กำหนดไว้
ผู้ผลิต------>สินค้า(คุณภาพสินค้า)------>ลูกค้า
-คุณภาพตามความคิดแบบใหม (Modern)ผลิตสินค้าให้สอดคล้องกับความพึงพอใจ (Satisfaction)
ผู้ผลิต------>สินค้า(คุวามพึงพอใจของลูกค้า)------>ลูกค้า
หน่วยวัดคุณภาพของการบริการ (ดัชนีความพึงพอใจของลูกค้า)
ระดับความพึงพอใจของลูกค้า = บริการที่ได้รับไป/ความต้องการและความคาดหวัง
3 ระดับ แห่ง ความพึงพอใจของลูกค้า
-Customer satisfaction -----> พึงพอใจ เมื่อได้รับบริการเท่ากับความต้องการ
-Customer impression -----> ประทับใจ เมื่อบริการได้ถึง ความคาดหวัง
-Customer delighted -----> ตื้นตันใจ/ปิติ เมื่อบริการได้เกินความคาดหวัง
ปฏิกริยาของลูกค้า กับระดับความพึงพอใจในบริการ
-ไม่พึงพอใจ -----> ประมาณ 5 % จะร้องเรียน
-พึงพอใจ -----> เขาจะกลับมาใช้บริการอีก
-ประทับใจ -----> เขาจะช่วยบอกต่อ
-ตื้นตันใจ -----> เขาจะเป็นพวก และช่วยปกป้อง
วิธีประเมินความพึงพอใจของลูกค้า
1.ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ
2.ใช้การสัมภาษณ์โดยตรง
3.ใช้การสังเกต การเฝ้าติดตามกระบวนการให้บริการ
4ใช้การประเมิยทางอ้อมแบบต่างๆเช่นการจ้างบริษัททำโพล ฯลฯ
ความบกพร่องในการบริการ
"ทฤษฎี สามไอ"
1.Innocence ----> ความไม่รู้
2.Ignorance ----> ความละเลย
3.Intention ----> ความจงใจ
KASH 4 ปัจจัยที่ดี ของ STAFF
-K ---> Knowledgeable มีความรู้ความเข้าใจที่ดีในงานของตน
-A ---> Good Attitude มีทัศนคติที่ดีกับงาน(Service-minded)
-S --->Skillful มีทักษะในการปฏิบัติงานบริการ
-H ---> Good Habit มีพฤตินิสัยที่ดี
ลักษณะเด่นของเจ้าหน้าที่ในดวงใจ
-S --->Smile ยิ้มแย้มแจ่มใส
-E--->Early ตอบสนองฉับไว
-R--->Respectful ให้ความนับถือ
-V--->Voluntary mind อาสาด้วยใจ
-I --->Image enhancing ยกระดับภาพลักษณ์
-C ---> Courtesy manner กิริยาวาจาสุภาพ
-E ---> Enthuslasm กะตือรือร้นเสมอ
บทสรุป
การสร้างคุณภาพในงานบริการ คือการสร้างความพึงพอใจลูกค้า และหาทางเพิ่มพูนความพึงพอใจให้สู่ระดับประทับใจ/ตื้นตันใจ
ในธุรกิจบริการ ค่าบริการที่ต่ำไม่ใช่ทางรอด แต่คุณภาพที่ทำให้เกิดความพึงพอใจสูงสุดเท่านั้น ที่ชนะใจลูกค้าได้
ลูกค้า
ลูกค้าภายนอก(External Customer)
-บุคคลที่มารับหรือใช้บริการจากองค์กร บริการตามเงื่อนไขภารกิจที่กำหนด
ลูกค้าภายใน(Internal Customer)
-บุคคลในองค์กรเดียวกัน ที่มารับ หรือใช้บริการจากหน่วยงานภายในองค์กร ตามความเกี่ยวเนื่องกันในกระบวนการ
การตลาด (Marketing)
-กระบวนการทางสังคมและการจัดการที่ทำให้บุคคลหรือ
กลุ่มบุคคลได้รับสิ่งที่ตอบสนองความจำเป็น(needs)
และความต้องการ(wants) โดยอาศัยการสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าและนำไปแลกเปลี่ยนกับบุคคลอื่น (Philip Kotler)
ความสำคัญของการตลาด
องค์กรธุรกิจ
-เกิดการแลเปลี่ยนสินค้าหรือบริการ
-การสร้างผลกำไร
ผู้บริโภค
-เกิดการเลือกสรรสินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพ
-ทำให้เกิดการต่อรองสินค้าและบริการ
-เกิดการกระจายสินค้าไปสู่ผู้บริโภค
เศรษฐกิจของประเทศ
-ผลักดันให้ระบบเศรษฐกิจขยายตัว
-ปัจจัยเร่งพัฒนาสินค้าและบริการ
-เกิดการกระจายรายได้และการจ้างงาน
ความแตกต่างระหว่างการตลาดและการขาย
ตลาด
-สถานที่ในการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ
การตลาด(มุ่งเน้นที่ตัวผู้ซื้อ)
-กิจกรรมที่ทำให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ จนกลายเป็นความต้องการสินค้าและบริการ
การขาย(มุ่งเน้นที่ตัวสินค้า)
-การกระทำเพื่อให้ลูกค้าซื้อสินค้าและบริการ
การจัดการด้านการตลาด(Marketing Management)
-หมายถึงการวิเคราะห์ การวางแผบ การปฏิบัติงาน และกาควบคุมการดำเนินงานที่ถูกออกแบบเพื่อสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ และรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์จากการแลกเปลี่ยนกับกลุ่มผู้ซื้อเป้าหมาย
-การจัดการอุปสงค์(Demand Management)
Increasing Demand
Decreasing Demand (Demarketing)
-การจัดการความสัมพันธ์ (Relationship management)
ปรัชญาการจัดการทางการตลาด
Product concept แนวความคิดมุ่งการผลิต
Product concept แนวความคิดมุ่งการผลิตภัณฑ์
Selling concept แนวความคิดมุ่งการขาย
Marketing concept แนวความคิดมุ่งการตลาด
Societal marketing concept แนวความคิดมุ่งการตลาดเพื่อสังคม
ส่วนประสมทางการตลาด(Marketing Mix : 4'Ps)
ผลิตภัณฑ์ Product
ราคา Price
ช่องทางการจำหน่าย Place
การส่งเสริมการตลาด Promotion
แนวคิดการตลาดสมัยใหม่
การทำความรู้จักกับลูกค้า วิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า ตอบสนองความต้องการของลูกค้า
ความพึงพอใจของลูกค้า ก่อให้เกิดการซื้อซ้ำ(Repeat Purchasing) ,ก่อให้เกิดความภักดีในตรายี่ห้อ(Brand Loyalty), เกิดการบอกต่อ(Viral Marketing)
การบอกต่อ เป็นการสื่อสารที่มีประสิทธิผลสูงสุดโดยธุรกิจไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด
แนวโน้มของกาตลาดในศตวรรษที่ 21
การเติบโตทางการตลาดขององค์กการที่ไม่แสวงผลกำไร
การเติบโตอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระเเสโลกาภิวัฒน์
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจโลก
กระแสเรียกร้องด้านจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม
ภาพใหม่ของการตลาด(ธุรกิจนำหลักการตลาดไปใช้และให้ความสำคัญกับลูกค้ามากขึ้น)
ลักษณะงานการตลาดประกอบด้วยเงื่อนไข 4 ประการ
สร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า Customer Satisfaction
สร้างกำไรให้กับทุกกลุ่ม Customer Profitability
สร้างกำไรทางการตลาด Marketing Profitability
สร้างลูกค้า Create Customer
รูปแบบการบริการทางสุขภาพ
Standard & high productivities งานบริการพยาบาลที่ได้คุภาพได้ผลผลิตสูง
High Technology งานบริการสุขภาพต้องพัฒนาระบบบริการโดยใช้เทคโนโลยีสูง
Low cost & High Profit บริหารจัดการโดยใช้แนวคิดเชิงธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ร่วมกัน
Customer Focus มุ่งเป้าหมายที่ผู้ใช้บริการเป็นสำคัญ