Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถาบัน ทางเศษฐกิจ การคลัง (องค์ประกอบ (1)งบประมาณแผ่นดิน, 2)รายรับ…
สถาบัน
ทางเศษฐกิจ
การคลัง
ความหมาย+เป้าหมาย
ความหมาย
การดำเนินการของรัฐ
หารายได้ก่อหนี้
นำเงินมาพัฒนาประเทศ
เป้าหมาย
1)พัฒนาประเทศ
2)รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
3)การกระจายผลผลิตหรือรายได้
4)จัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบ
1)งบประมาณแผ่นดิน
2)รายรับ-รายจ่ายภาครัฐ
3)หนี้สาธารณะ
4)ระบบภาษี
5)นโยบายการคลัง
งบประมาณแผ่นดิน
แผนการเงินภาครัฐ
แสดงรายรับ-รายจ่ายใน 1 ปี
ลักษณะที่ดี
ต้องประหยัดและพัฒนา
เป็นศูนย์รวมของแผ่นดิน
ประเภท
งบขาดดุล
รับ<จ่าย
เมื่อเศรษฐกิจตกต่ำจะเกิดเงินฝืด
งบเกินดุล
รับ>จ่าย
เมื่อเงินเฟ้อมาก
งบสมดุล
รับ = จ่าย
ระยะเวลา : 1 ต.ค.-30 ก.ย.(12เดือน)
รายรับ - รายจ่าย
รายรับ
รายได้
เก็บภาษี
ไม่ใช่ภาษี
ขายสิ่งของของรัฐ
พาณิชย์
ไฟฟ้า
น้ำประปา
ลอตเตอรี่
เหล้า, บุหรี่
เงินกู้
หนี้สาธารณะ
ตั๋วเงินคลัง
พันธบัตร
รายจ่าย
รายจ่ายประจำของกระทรวงต่างๆ
รายจ่ายลงทุน
หนี้สาธารณะ
เงินกู้ยืมหรือค้ำประกันของรัฐเพื่อนำเงินมาพัฒนาประเทศ
ประเภท
หนี้ในประเทศ
หนี้ต่างประเทศ
สาเหตุ
ป้องกันประเทศ
ลงทุนในโครงสร้างเร่งด่วน
ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ
ระบบภาษี
เงินบังคับเก็บจากประชาชนเพื่อเปนค่าใช้จ่ายของรัฐ
ประเภท
ทางตรง
ผลักภาระไม่ได้
ภาษีเงินได้
ทางอ้อม
ผลักภาระได้
VAT, ภาษีการขาย
อัตราภาษี
ก้าวหน้า
รายได้มากขึ้น -> เก็บมากขึ้น
คงที่
เก็บอัตราคงที่
ถอยหลัง
รายได้มากขึ้น -> ภาษีลดลง
นโยบายการคลัง
ประเภท
หดตัว(เข้มงวด)
เกินดุล
รับ > จ่าย
แก้เงินเฟ้อ
รายได้ลดลง ,ภาษีมากขึ้น ,หนี้สาธารณะลดลง ,ปริมาณเงินลดลง
ขยายตัว(ผ่อนคลาย)
ขาดดุล
รับ < จ่าย
แก้เงินฝืด/เศรษฐกิจตกต่ำ
ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น
รายจ่ายเพิ่มขึ้น ,ภาษีลดลง ,หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้น
เครื่องมือ
ภาษี
ปริมาณเงินลดลง
ภาษีเพิ่มขึ้น
แก้ไขเงินเฟ้อ
ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น
ภาษีลดลง
แก้เงินฝืด
งบรายจ่าย
รายจ่ายมากขึ้น
งบขาดดุล
แก้เงินฝืด
แก้เศรษฐกิจตกต่ำ
รายจ่ายลดลง
งบเกินดุล
แก้เงินเฟ้อ
หนี้สาธารณะ
หนี้มากขึ้น
กู้เงินมากขึ้น
งบขาดดุลมากขึ้น
แก้เงินฝืด
หนี้ลดลง
กู้เงินลดลง
งบขาดดุลลดลง ,สมดุล
แก้เงินเฟ้อ
สาเหตุที่ต้องมี
1)ป้องกันการผูกขาดหรือการเอารัดเอาเปรียบจากภาคเอกชน
2)ลงทุนขนาดใหญ่เพื่อสาธารณะ
3)จัดหาสินค้าที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่มีต้นทุนสูง
4)จัดหาสินค้า/บริการที่เอกชนผลิตน้อยหรือไม่ผลิต