Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Urinary system (:red_flag:กลไกการเปลี่ยนแปลง (จนสุดท้ายหัวใจต้องทำงานหนักข…
Urinary system
:red_flag:
กลไกการเปลี่ยนแปลง
จนสุดท้ายหัวใจต้องทำงานหนักขึ้น เพื่อส่งเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ อวัยวะที่ขาดเลือดไปเลี้ยงก็จะวายตามหัวใจ
ทำให้เกิดภาวะเกล็ดเลือดต่ำ น้ำเลือดที่รั่วออกมามาก ส่งผลให้เซลล์เม็ดเลือดแดงหนืดข้น เลือดไหลเวียนลำบาก
จากการเสียเลือดทำให้ผู้ป่วยมีอุณหภูมิร่างกายที่ลดลง เกล็ดเลือดจึงต้องรีบมาอุดหลอดเลือด
โรคไข้เลือดออก เมื่อโรคดำเนินมาถึงช่วงสุดท้าย คนไข้จะมีภาวะไข้ลดลงอย่างเฉียบพลัน คนไข้จะมีภาวะเลือดรั่วออกมาก
กลไกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับระบบทางเดินปัสสาวะอันจะนำไปสู่การเกิด Renal failure
:green_heart:
เช่น ภาวะไตวาย ซึ่งไตจะต้องใช้เลือดไปเลี้ยง เมื่อขาดเลือดไปเลี้ยง ไตจะไม่มีเลือดไปเลี้ยงในระบบการกรองของเสีย
ทำให้ไตสูญเสียหน้าที่ในการทำงานโดยจะไม่สามารถควบคุมสมดุลของน้ำและเกลือแร่ ความเป็นกรดด่าง การกรองของเสียออกจากร่างกายทางปัสสาวะ
:red_flag:
แผนการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดไตวายเฉียบพลันเนื่องhypovolemic shock :heartbeat:
เสี่ยงต่อภาวะน้ำเกินเนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่ในการกรอง:heartbeat:
:red_flag:
พยาธิสภาพ
:purple_heart:Renal failure
ความหมาย
ภาวะที่ไตสูญเสียความสามารถในการกรองของเสียออกจากเลือด
จนไม่สามารถขับของเสียออกมาจากร่างกายผ่านทางปัสสาวะได้
ท้าให้มีของเสียตกค้างในร่างกาย
ประเภท
ไตวายเฉียบพลัน
(Acute Kidney Failure หรือ Acute Renal Failure) เกิดขึ้นทันทีทันใด โดยเริ่มจากปัสสาวะน้อยลง หรือไม่ปัสสาวะเลย มีอาการ บวมที่ขา เบื่ออาหาร รู้สึกมึนงง อาจมีอาการปวดหลังบริเวณชายโครง หายใจถี่
ไตวายเรื้อรัง
(Chronic Kidney Failure หรือ Chronic Renal Failure) อาการจะไม่เกิดขึ้น พร้อมกันในคราวเดียว แต่จะค่อย ๆ แสดงอาการออกมา
อาการแสดงตามระยะโรค
:ballot_box_with_check:จากตำรา
2. ระยะที่มีปัสสาวะออกน้อย (oliguric phase)
:blue_heart:
ในระยะนี้ไตไม่สามารถขับของเสียออกได้ ทำให้ ระดับของครีตินิน
และยูเรียไนโตรเจนเพิ่มสูงขึ้น มีการคั่ง ของ น้ำและเกลือแร่ในกระแสเลือด
หรือไม่มีน้ำปัสสาวะออกจากร่างกาย เนื่องจากไต เริ่มมีการทำงานที่บกพร่อง
3. ระยะปัสสาวะออกมาก (diuretic phase)
:blue_heart:
ซึ่งอาจน้าไปสู่ ภาวะขาดน้ำ จะตายจากภาวะไตวาย เฉียบพลันในระยะนี้
ปัสสาวะ อาจจะออกถึงวันละ 1,000 - 2,000 มล.
1. ระยะเริ่มแรก (initial phase)
:blue_heart:
ร่างกายยังสามารถ ปรับตัวโดยหลั่งสารที่ทำให้หลอดเลือด หดตัว
เพื่อให้ เลือดไปเลี้ยงอวัยวะที่ทำคัญ เช่น สมอง หัวใจ
4. ระยะฟื้นสภาพ (recovery phase)
:blue_heart:
เป็นระยะที่หน้าที่ ของไตค่อยๆฟื้นสภาพอย่างช้าๆ
อาจใช้ เวลาฟื้นสภาพ ภายในเวลาระยะ 1 ปี ในบางรายอาจมี การเสียหน้าที่บางส่วนอย่างถาวร
:silhouettes:จากผู้ป่วย
ผู้ป่วยมีภาวะไตวายเฉียบพลัน คือ
(15 ต.ค. 60 เวลา 19.45น.)
ตั้งแต่แรกรับ
ผู้ป่วยยังไม่ถ่ายปัสสาวะ และ Check Vital sign BP วัดไม่ได้
แสดงถึงการเริ่มเข้าสู่ภาวะ Shock ส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงไต และน้ำจะไปกรองที่ไตลดลงทำให้ไตเสียหน้าที่
และผู้ป่วยมีอาการของ Pleural effusion both lung คือเกิดการคั่งของน้ำที่ปอด เนื่องจากเลือดและน้ำไม่ไปกรองที่ไต ทำให้เกิดการคั่งและทำให้เกิดไตวายในที่สุด