Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 ความเป็นครู-การปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียน…
บทที่ 10 ความเป็นครู-การปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
ความหมาย
เป็นอิทธิพลที่มีต่อกันระหว่างบุคคลเป็นพฤติกรรมทางสังคมและอารมณ์ปฏิสัมพันธ์เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ การเรียนรู้เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและสิ่งแวดล้อม
การปฏิสัมพันธ์เป็นการแสดงบทบาทในฐานะผู้นำของครู
เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกตมเจตคติแลความคาดหวังมีผลต่อการสร้างบรรยากาศ
เป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียนมีผลต่อการสร้างบรรยากาศ
บุคลิกภาพของครูทีผลต่อการสร้างบรรยกาศ
เป็นพฤติกรรมที่ครูรู้จักการใช้แรงเสริม
บริบทห้องเรียน
เป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน
ถามปัญหาให้ผู้เรียนตอบ
จับกลุ่มมอบหมายงาน
ให้โอกาสถามตอบข้อสงสัยหรือแสดงความคิดเห็น
ค้นคว้หาความรู้มารายงาน
อธิบาย แก้โจทย์บนกระดาน
จัดบอร์ดสาธิตแสดงอุปกรณ์
สอนแทนผู้สอนในบางหัวข้อ
ใช้การออกแบบการเรียนการสอนด้านการจูงใจ
ผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน
ผู้เรียนกับผู้เรียน
สิ่งสำคัญ
จำนวนผู้เรียน
ความสามารถของผู้เรียน
ลักษณะผู้นำกลุ่ม
ความสามัคคี
หลักการออกแบบการปฎิสัมพันธ์เพื่อสร้างแรงจูงใจ (Malone)
ความท้าทาย
จินตนาการ
ความยากรู้อยากเห็น
ความรู้สึกที่ควบคุมบทเรียนได้และทฤษฎีการสร้างแรงจูงใจ
การเรียนรู้
เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร พฤติกกรมใหม่เป็นผลจากประสบการณื
เกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้
ด้านความรู้ คว่มเข้าใจ ความคิด เช่น สามารถบวกเลข แก้โจทย์
ด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ค่านิยม เช่นชอบอ่านหนัสือ
ด้านความชำนาญ เช่น การใช้มือวาด
การพัฒนาและปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน
ผู้เรียนกับผู้เรียน
สามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ผู้เรียนกับสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง
สำหรับบทเรียนเป็นแรงเสริมกับการกระทำของนักเรียน
ครูกับผู้เรียน
เป็นกันเอง เปิดโอกาสในการซักถาม
ความสัมพันธ์ของปฏิสัมพันธ์สร้างสรรค์
องค์ประกอบ
วาจาสร้างสรรค์
สัมผัสที่อบอุ่น
สบสยตา
ตัวอย่างกิจกรรมสร้างสรรค์
สถานการณ์ปั้นดินนำ้มัน
สถานการณ์วาดภาพระบายสี
สถานการณ์ในมุมหนังสือ
สถานการณ์ในมุมบ้าน
ตัวอย่างกิจกรรมเสริมประสบการณ์
การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตประจำวัน
การช่วยเหลืองานบ้าน
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน
ขั้นกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ด้านเนื้อหากับทักษะการร่วมมือ
ขั้นลำดับของยุทธศาสตร์การสอนและโครงสร้างของพหุปัญญา
ขั้นของการพัฒนากลุ่ม ครูแนะนำตั้งคำถามให้ทราบ
ขั้นการสะท้อนคิดเเละความรับผิดชอบ
ขั้นความตระหนักและรู้คุณค่า