Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เศรษฐศาสตร์สุขภาพ Health Economics (การประเมินทางเศรษศาสตร์สุขภาพ (Cost…
เศรษฐศาสตร์สุขภาพ Health Economics
แนวคิดเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจำกัด
ประสิทธิผล(effectiveness)
ประสิทธิภาพ (efficency)
ใช้ได้ผลจริง เอาใช้ได้จริง(efficacy)
ความเท่าเทียม (equity)
สินค้าคุณภาพ (product quality)
วัตถุประสงค์
เพื่อเลือกใช้ทรัพยากรด้านสุขภาพที่มีอย่างจำกัด ให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุดในการยกระดับสุขภาพประชาชนอย่างเป็นธรรม
ความเป็นธรรม Equity
ความเสมอภาคเท่าเทียม Equality
การประเมินทางเศรษศาสตร์สุขภาพ
Cost effectiveness analysis
ประเมินค่าเป็นดัชนีสาธารณสุข
Cost utility analysis
ผลลัพธ์หลายมิติ
Cost minimization analysis
ต้นทุนต่ำสุด ผลลัพธ์เหมือนกัน
Cost Benefit analysis
ประเมินค่าเป็นเงิน
ลักษณะพิเศษ
ความไม่แน่นอน (Uncertainty) การเจ็บป่วยเป็นเรื่องคาดไม่ถึง
อุปสงค์สืบเนื่อง (Derived Demand) ผู้ให้บริการสร้างอุปสงค์ได้
ปัญหาเรื่องข้อมูล (Information) ผู้ป่วยรู้ข้อมูลน้อยกว่าผู้ให้บริการ
Diagnosis related groubs
แก้ปัญหา Moral Hazards
คุมค่าใช้จ่ายได้
เป็นกรอบกำหนดค่ารักษา
ปัจจัยสำคัญ
Optimal Trade off เกิดจาก Scarcity เปรียบเทียบกับ Opportunity cost :
ราคาขึ้นอยู่กับ want vs need
ตลาด
Demand consumer - ผู้รับบริการ-ผู้ป่วยและครอบครัว
Supply, Supplier ผู้ให้บริการ - แพทย์พยาบาล
การวิเคราะห์ต้นทุน
ประเภทของต้นทุน
ค่าแรง (LC)
คุรุภัณฑ์(CC)
ค่าวัสดุ เวชภัณฑ์สิ้นเปลือง(MC)
ต้นทุนทางอ้อม(IDC)
ต้นทุนรวมโดยตรง(TDC)
TDC = CC+LC+MC
Full cost = TDC + IDC
การคำนวนจุดคุ้มทุน
ต้นทุนคงที่ Fixed Cost
ต้นทุนผันแปร Variable Cost
ราคา Price
Price x Quantity = Fixed Cost + (Variable Cost x Quantity)
ปริมาณ Quantity
ความหมาย
การประยุกต์ทฤษฎี แนวคิด วิธีการ และเครื่องมือ ของวิชาเศรษฐศาสตร์มาใช้ เพื่อวิเคราะห์ประเด็นทางด้านสุขภาพ ค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์การบริหารจัดการ และผลกระทบทางสุขภาพ และการบริการสุขภาพ
การนำผลไปใช้
ผู้ให้บริการ
การส่งเสริมสุขภาพ
การบำบัดรักษา
การวินิจฉัยโรค
การควบคุม ป้องกัน และฟื้นฟู
ผู้กำหนดนโยบาย
กำหนด โครงการ
การจัดสรรทรัพยากร