Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การนอร์มัลไลซ์เซซัน (Normalization) (5.1 การนอร์มัลไลซ์…
บทที่ 5
การนอร์มัลไลซ์เซซัน (Normalization)
สามารถควบคุมความซ้ำซ้อนของข้อมูลหลีกเลี่ยงความผิดปกติของข้อมูล
การทำนอร์มัลไลเซชัน เป็นวิธีการในการกำหนดแอตทริบิวต์ให้กับแต่ละเอนทิตี เพื่อให้ได้โครงสร้างของตารางที่ดี
การทำนอร์มัลไลเซชันซึ่งประกอบด้วยนอร์มัลฟอร์มแบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี
นอร์มัลฟอร์มที่ 3 (Third Normal Form : 3NF)
บอยซ์คอดด์นอร์มัลฟอร์ม (Boyce-Codd Normal Form : BCNF)
นอร์มัลฟอร์มที่ 2 (Second Normal Form : 2NF)
นอร์มัลฟอร์มที่ 4 (Fourth Normal Form : 4NF)
นอร์มัลฟอร์มที่ 1 (First Normal Form : 1NF)
นอร์มัลฟอร์มที่ 5 (Fifth Normal Form : 5NF
5.1 การนอร์มัลไลซ์ (Normalization)
ระดับนอร์มัลไลเซชัน
เป็นกระบวนการเพื่อพัฒนาการ
เชื่อมต่อของข้อมูลเพื่อแก้ปัญหาของรีเลชั่น
ที่ว่าการออกแบบฐานข้อมูลทั้งทางตรรกะ
ะทางกายภาพที่ได้ออกมาใช้ได้หรือยัง
5.1.1 First Normal Form (1NF)
2) การลบข้อมูล (Delete)
3) การเพิ่มข้อมูล (Insert)
1) การแก้ไขข้อมูล (Update)
5.1.2 Second Normal Form (2NF)
นอร์มัลไลเซชันระดับที่ 2 (Second normal form : 2NF) เป็นการขจัดแอตตริบิวที่
ไม่ขึ้นกับทั้งส่วนของคีย์หลักออกไป
5.1.3 Third Normal Form (3NF)
นอร์มัลไลเซชันระดับที่ 3 (Third normal form : 3NF) คือ ขบวนการที่พยายามขจัดสภาพ
ของ Transitive Dependency ออกไป
5.1.4 BCNF (Boyce/Codd Normal Form)
“ต้องเป็น 3NF และไม่มี attribute อื่นในรีเลชันที่สามารถระบุค่าของ attribute ที่เป็นคีย์
หลัก หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของคีย์หลักในกรณีที่คีย์หลักเป็นคีย์ผสม”
5.1.5 4NF (Forth Normal Form)
“ต้องอยู่ในรูปแบบ BCNF และเป็นรีเลชันที่ไม่มีความสัมพันธ์ในการระบุค่าของ
attribute แบบหลายค่า
5.2.6 5NF (Fifth Normal Form)
“ต้องอยู่ในรูปแบบ 4NF และไม่มี Symmetric Constraint
5.2 ประเด็นที่ควรคำนึงถึงในการทำให้อยู่ในรูปแบบ Normal Form
5.2.2 การดีนอร์มัลไลเซชัน (Denormalization)
5.2.1 การแตกรีเลชันมากเกินไป (Overnormalization)