Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ไฟฟ้าสถิต (ธรรมชาติของไฟฟ้าสถิต (การทำให้มีประจุ (การเหนี่ยวนำ…
ไฟฟ้าสถิต
ธรรมชาติของไฟฟ้าสถิต
ปรากฎการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า
เเบนจามิน เเฟรงกลิน
(Benjamin Frankin) พบว่า เกิดประจุบนท้องฟ้าที่อยู่บนท้องฟ้า โดยการนำว่าวไปเล่นขณะฟ้าผ่าพอดี จึงเกิดเเรงดึงดูดกันเเละกัน
ผู้คิดค้นคำว่า"ประจุบวก"เเละ"ประจุลบ"
ทาลิส
(Thales) พบว่า เมื่อนำแท่งอำพันมาถูกับผ้าขนสัตว์ แท่งอำพันสามารถดูดวัตถุเบาๆเช่นขนนกหรือขนฟางได้
ประจุไฟฟ้าเเละกฎการอนุรักษ์
ประจุไฟฟ้า
ประจุไฟฟ้า (electric charge)
ประจุลบ :เป็นอนุภาค ที่มีประจุไฟฟ้า -1.6 × 10 คูลอมบ์(C)
เกิดจากการได้รับอิเล็กตรอน หรือมีอิเล็กตรอนเกิน
ประจุไฟฟ้า คือ สมบัติเฉพาะของวัตถุที่บอกถึงอำนาจทางไฟฟ้า
ประจุบวก :เป็นอนุภาค ที่มีประจุไฟฟ้า +1.6 × 10 คูลอมบ์(C)
เกิดจาก การสูญเสียอิเล็กตรอน
สภาพทางไฟฟ้า
(Electrical conditions)
สภาพทางไฟฟ้าของวัตถุ ขึ้นอยู่กับ ประจุไฟฟ้า
วัตถุที่มีประจุบวก หมายถึง เสียอิเล็กตรอน >>
โปรตอน(Proton)
วัตถุที่มีประจุลบ หมายถึง ได้รับอิเล็กตรอน >>
อิเล็กตรอน (Electron)
วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า หมายถึง มีอิเล็กตรอนเท่ากับโปรตอน >>
นิวตรอน( Neutron)
เเรงระหว่างประจุไฟฟ้า
แรงระหว่างประจุไฟฟ้า คือ เเรงที่ทำระหว่างวัตถุที่มีประจุ
เเรงดึงดูด >>ทำระหว่าง
ประจุต่างกัน
เเรงผลัก >>ทำระหว่าง
ประจุเหมือนกัน
ลำดับไตรโบอิเล็กทริก
ตารางลำดับการเกิดชนิดของประจุวัตถุนั้น
กฎการณ์อนุรักษ์ประจุไฟฟ้า
กฎการณ์อนุรักษ์ประจุไฟฟ้า(Law to conserve electric of charges)
กล่าวว่า วัตถุที่มีประจุย้ายประจุไปที่หนึ่ง โดยผลรวมของปะจุทั้งหมดยังมีค่าเท่ากันเหมือนเดิม
เราทำให้วัตถุที่ประจุได้ เเต่เราสร้างประจุไม่ได้
ชนิดของวัตถุ
ตัวนำ
คือ นำไฟฟ้าได้ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อิสระ
ฉนวน
คือ นำไฟฟ้าไม่ได้ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไม่ได้
การทำให้มีประจุ
การขัดถู
วัตถุขัดถูกันจะเกิดการถ่ายเทประจุ>>วัตถุที่รับประจุเป็นอิเล็กตรอน วัตถุที่เสียประจุเป็นโปรตอน
การสัมผัส
วัตถุมีประจุ
เเตะ
วัตถุกลาง>>วัตถุมีประจุเดียวกับที่เเตะ
การเหนี่ยวนำ
วัตถุมีประจุ
ใกล้
วัตถุกลาง>>ดูดประจุตรงข้ามมา
ใกล้ๆ
ผลักประเหมือนกันไป
ไกลๆ
eletroscope ใช้ตรวจประจุ
ลูกพิท>>ดูด=ต่าง ผลัก=เหมือน
เเผ่นโละคู่>>ถ้าเเผ่นโลหะ
กางออก
วัตถุนั้นมีประจุ
สายดิน
ทำให้บริเวรนั้นเป็นกลาง
เเรงระหว่างประจุไฟฟ้าเเละกฎของคูลอมบ์
เเรงระหว่างประจุ
ประจุชนิดเดียวกัน
ประจุชนิดต่างกัน
ไม่ว่าจะมีกี่เเรงก็จะมีเเรงของประจุที่กระทำกันเสมอ
กฎของคูลอมบ์
นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศษ
ชาร์ล ออกุสเต็ง เดอ คูลอมบ์(Charles Angustin de Coulomb)
กฎคูลอมบ์ สรุปได้ว่า
เเรงระหว่างประจุไฟฟ้าจะเเปรผกผันกับกำลังสองของระยะทาง(r) เเละจะเเปรผันตรงกับผลคูณระหว่างประจุไฟฟ้า(Q)
สมการ
สนามไฟฟ้า
สนามไฟฟ้าเเละขนาดของสนามไฟฟ้า
สนามไฟฟ้า
บริเวณรอบๆวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าที่เกิดเเรงไฟฟ้ากระทำต่อวัตถุที่อยู่บริเวณนั้น
สมาการ