Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Postpartum Hemorrhage (PPH) (ผลกระทบต่อมารดา (กลุ่มอาการ Sheehan's…
Postpartum Hemorrhage
(PPH)
การรักษา
กรณีรกคลอดแล้วมดลูกหดตัวไม่ดี
นวดคลึงมดลูก
สวนปัสสาวะ
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูก
ตัดมดลูก
เย็บซ่อมแผลที่มดลูก
กรณีรกไม่ลอกตัว
ล้วงรก
หมายถึง
การสูญเสียเลือดจากการคลอด
มากกว่า 500 ml. หลังคลอดทางช่องคลอด
มากกว่า 1000 ml. หลังการผ่าตัดคลอด
แบ่งเป็น 2 ระยะ
Early PPH (ภายใน 24 hr.)
สาเหตุ
Tissue : มีสิ่งตกค้างในโพรงมดลูก
Trauma : การฉีดขาดของช่องทางคลอด
Tone : การหดรัดตัวมดลูกไม่ดี
Thrombin : การเเข็งตัวของเลือดผิดปกติ
Late PPH
(หลัง 24 hr. จนถึง 6 wk)
สาเหตุ
เศษรก/เยื่อหุ้ม รกค้าง
มดลูกเข้า อู่ช้า
ติดเชื้อในโพรงมดลูก
เนื้องงอก/ไข่ปลาอุก
เลือดออกจากแผลช่องคลอด
ผลกระทบต่อมารดา
ภาวะโลหิตจาง
ภูมิต้านทานต่ำ
ภาวะ Hypovolemia
ไตล้มเหลว
กลุ่มอาการ Sheehan's syndrome
ต่อมใต้สมองขาดออกซิเจน
ส่งผลให้สูญเสียหน้าที่ในการทำงาน
ต่อมหมวกไต ต่อมไทรอยด์ ต่อมเพศ ทำงานลดน้อยลง
เต้านมเล็กลง น้ำนมไม่ไหล ไม่มีประจำเดือน ไข่ฝ่อ
อาการ/อาการแสดง
ติดเชื้อ
น้ำคาวปลา คล้ำ มีกลิ่นเหม็น
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
มดลูกปลิ้น
คลำมดลูกอยู่ตำแหน่งสูง
อาการผิดปกติ
Pulse เร็ว
หน้าซีด ตัวเย็น
BP ต่ำ
หายใจเร็ว
กระสับกระส่าย
มีเลือดออกทางช่องคลอด
เศษรกค้าง : สีแดงคล้ำ
ฉีกขาด : เลือดสดไหลพุุ่ง
การป้องกัน
ระยะคลอด
blood transfusion
ทำคลอดด้วยวิธี Controled cord traction
ให้Oxytocin เมื่อไหล่หน้าทารกคลอดหรือภายใน 1 นาทีหลังคลอด
Early clamp cord (1-2 นาทีหลังทารกเกิด)
ก่อนคลอด
เลี่ยงการให้ยาสลบ ประเภท etherและ halothane
ระวัง Prolong labour หรือได้รับยา sedation
ซักประวัติเพื่อหาความเสี่ยงของPPH
ตรวจร่างกายประเมินภาวะซีด
นางสาวศศิธร สัทธาพงศ์
5910410057
คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ :lock: