Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classic Conditioning Theory) (การนำไปใช้…
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
(Classic Conditioning Theory)
John B. Watson
เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
ศึกษาทดลองกับมนุษย์โดยการทดลองกับเด็กอายุ 11 เดือน ชื่อ Albert ซึ่งใช้อารมณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง
การทดลอง
ครั้งแรกให้เด็กเล่นของเล่นประเภทตุ๊กตาและหนูตะเภาสีขาว และของเล่นที่ทำด้วยขนสัตว์
ผลปรากฎว่า เด็กสามารถเล่นได้ตามปกติ ไม่มีพฤติกรรมการกลัวสิ่งใด
ทิ่งระยะเวลาไว้ช่วงหนึ่ง
ทดลองใหม่ ให้เล่นกับหนูตะเภาสีขาว และมีการทำเสียงดังควบคู่่กันไป ทำให้เด็กตกใจ เมื่อหายตกใจเด็กพยายามเล่นกับหนูตัวนั้นอีก
ทันใดนั้น กำลังยื่นมือไปจับหนูตะเภา ก็เกิดเสียงดังขึ้น เด็กตกใจจนร้องให้ และไม่อยากเล่นกับหนูอีก
เมื่อพยายามทดลองอีก ปรากฎว่า เด็กเกิดความกลัวหนูตะเภาสีขาว และกลัวสิ่งอื่นๆ ที่มีลักษณะคล้ายกัน
Ivan P.Pavlov
เป็นนักจิตวิทยาชาวรัสเซีย
มีหลักการว่า การเรียนรู้เกิดจากการที่อินทรีย์ได้ตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้หลายๆ ชนิด
ทดลองกับสุนัข
โดยใช้สิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข คือ สั่นกระดิ่ง สุนัขจะตอบสนองโดยการกระดิกหาง
ใช้สิ่งเร้าที่ไม่มีเงื่อนไข คือ นำผงเนื้อมาให้สุนัขกิน สุนัขตอบสนองคือมีน้ำลายไหล
สิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข (Unconditioned Stimulus)
เป็นสิ่งเร้าที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดการตอบสนองตามธรรมชาติ เช่น ผงเนื้อ ทำให้สุนัขน้ำลายไหล เป็นต้น
การตอบสนองที่ไม่มีเงื่อนไข (Unconditioned Response)
เป็นการตอบสนองแบบอัตโนมัติต่อสิ่งเร้าที่ไม่มีเงื่อนไข
สิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข (Conditioned Stimulus)
เป็นสิ่งเร้าที่กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ สิ่งเร้าที่มีเงื่อนไขต้องเกิดก่อนสิ่งเร้าที่ไม่เงื่อนไขเสมอ
การตอบสนองตามเงื่อนไข(Conditioned Response)
เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข
อันสืบเนื่องมาจากพฤติกรรมการตอบสนองแบบอัตโนมัติต่อสิ่งเร้าที่ไม่มีเงื่อนไขมาก่อน
ผลการทดลองของพาฟลอฟ และวัตสัน
พฤติกรรมที่หดหาย (Extinction)
พฤติกรรมการจำแนก (Discrimination)
พฤติกรรมการแผ่ขยาย (Generalization)
พฤติกรรมการฟื้นตัว (Spontaneous Recovery)
การนำไปใช้
สร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียนการสอนเพื่อเป็นการวางเงื่อนไขที่ดี
นำพฤติกรรมการแผ่ขยายมาใช้
วางตัวให้นักเรียนศรัทธา และรัก เพื่อนักเรียนจะได้รักวิชาที่ครูสอนด้วย
นำกฎพฤติกรรมการฟื้นตัวมาใช้
สร้างความเป็นกันเอง ให้ความอบอุ่นแก่นักเรียน
นำกฏพฤติกรรมการจำแนกมาใช้
จัดหาและใช้สื่อที่ดีเพื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
จัดบทเรียนให้น่าสนใจและเกิดความสนุกสนาน
จัดสภาพแวดล้อมที่ดี ให้นักเรียนรักโรงเรียน
ใช้ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคในการเปลี่ยนเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาต่างๆ ของนักเรียน
ใช้หลักการลบพฤติกรรมมที่ไม่ดี ไม่สนใจในพฤติกรรมที่ไม่ดี