Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประวัติการพยาบาลในยุคต่างๆ (การพยาบาลในประเทศไทย (สมัยสุโขทัย…
ประวัติการพยาบาลในยุคต่างๆ
การพยาบาลในต่างประเทศ
การพยาบาลสมัยประวัติศาสตร์
การพยาบาลยุคกลางประวัติศาสตร์ตอนต้น
การพยาบาล
เพื่อเป็นการอุทิศช่วยเหลือ
ไม่มีการฝึกอบรมแต่อย่างใด แต่เป็นการฝึกปฏิบัติแบบ “apprenticeship” คือฝึกแบบ “Do As I Do”
การรักษาอยู่ภายใต้คำสั่งของพระมากกว่าแพทย์ พระสามารถสั่งงดการรักษาของแพทย์ได้
การพยาบาลยุคกลางประวัติศาสตร์ตอนปลาย
การพยาบาล
สตรี(ภรรยา)เป็นผู้ดูแลให้การพยาบาลผู้ป่วยที่บาดเจ็บจากการทำสงคราม
อัศวิน/ทหารส่วนหนึ่งจะมาทำหน้าที่ให้การดูแลช่วยให้การพยาบาล
วัฒนธรรมความเคร่งครัดในระเบียบวินัย การเคารพในผู้บังคับบัญชา การอยู่เวร การสวมเครื่องแบบและอื่น ๆ ถ่ายทอดสู่พยาบาล
การพยาบาลสมัยดึกดำบรรพ์
จุดเริ่มต้นการเรียนรู้
จุดเริ่มต้นการเรียนรู้จากการสังเกตพฤติกรรมการเยียวยาตัวเองของสัตว์
การกินหญ้า ใบไม้ หรือพืชอื่น ๆ ที่ช่วยให้อาเจียน ถ่ายท้อง หรือ การแช่แผลในน้ำ
สมัยดึกดำบรรพ์ก่อนประวัติศาสตร์
พิธีกรรม
วัดหรือศาสนสถานจึงเป็นเหมือนศูนย์กลางของการรักษาพยาบาล(health center)
เวทมนตร์
ผู้ประกอบพิธีกรรมหากเป็นชายจะถูกเรียกว่าพ่อมดหรือหมอผี (“medicine man”, “witch doctor”หรือ “shamans” )
หมอผีมีการพัฒนา แบ่งออกเป็น หมอผี หมอพระ และหมอยา
ต่อมามีการผสมผสานระหว่างเวทมนตร์ พิธีกรรมทางศาสนา และวิธีการทางธรรมชาติ
ใช้เทคนิคการขับไล่ภูติผีวิญญานที่เชื่อว่าสิงอยู่ในร่างกายของมนุษย์และเป็นสาเหตุทำให้เจ็บป่วย โดยใช้ไฟ หรือเครื่องมือที่มีความร้อน
สมัยดึกดำบรรพ์ประวัติศาสตร์ตอนต้น
อียิปต์
เคารพและศรัทธาต่อเทพเจ้าสูง
เชื่อว่าเทพเจ้ามีอำนาจควบคุม
วิธีการรักษาเกี่ยวกับทั้งไสยศาสตร์และพิธีกรรมทางศาสนา
หมอพระ (priest-physician) ที่ยิ่งใหญ่คือ
“อิมโฮเทป (Imhotep)” ผู้รู้กว้างขวางในศาสตร์การแพทย์ เวทมนตร์และสุขภาพ
การทำมัมมี่ทำให้มีการพัฒนาการรักษา การใช้ยาและการผ่าตัด แยกโรคได้ 250 ชนิด เกิดเทคนิคการใช้ผ้าพัน
Ebers papyrus ตำรายาที่สมบูรณ์และเก่าแก่ที่สุด อธิบายถึงโรคและอาการของหลายโรค
ตำราเกี่ยวกับการผ่าตัดและการรักษาอื่นๆ มีหลักฐานที่เชื่อได้ว่าโรงพยาบาลอาจเกิดขึ้นในยุคสมัยนี้
อินเดีย
ศาสนาที่มีอิทธิพล: ศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธ
ค้นพบโรค : วัณโรค ไข้ไทฟอยด์ โรคเรื้อน ตับอักเสบ โรคประสาท อหิวาตกโรค และเหา
การรักษา: ชำนาญการผ่าตัด มีการผ่าตัดต่อมทอนซิล ตัดขา ตัดเนื้องอก ผ่าตัดจมูกและผ่าตัดคลอด
พระเจ้าอโศกมหาราช (King Asoka) : มีการสร้างโรงพยาบาลขึ้นเป็นครั้งแรกในโลกและสร้างขึ้นหลายแห่ง
ผู้ให้การพยาบาล : กำหนดคุณสมบัติอย่างชัดเจนกว่าชนชาติอารยธรรมอื่น ๆ เช่น ฉลาด มีเมตตา เอาใจใส่คนไข้ รู้จักวิธีการผสมยา การประกอบอาหารที่มีคุณค่า การอาบน้ำ การนวด การทำความสะอาดและการปูที่นอน ให้การพยาบาลทุกอย่างที่ผู้ป่วยต้องการและไม่แสดงอาการฝืนใจในการดูแล
จีน
สุขภาพที่ดีคือความกลมกลืนหรือสมดุลระหว่างบุคคลกับจักรวาล
วิธีการรักษา : “ไนจิง (Nei Ching)” มี 5 วิธี
การรักษาทางจิตวิญญาณ
การบำรุงร่างกาย
การให้ยา
การรักษาร่างกายแบบทั้งตัว(whole body)
การฝังเข็ม
โรมัน
การพยาบาล : เป็นหน้าที่ของหญิงบำเรอหรือทาสทั้งหญิงและชายภายในบ้าน
การรักษา
ใหม่ :ยุคโรมันรุ่งเรืองนำวิทยาการต่างๆ จากกรีกมาใช้ (หลังโรมันมีชัยชนะต่อกรีก)
:การพัฒนาด้านสุขาภิบาล พัฒนาโครงสร้างที่เอื้อต่อการสาธารณสุข เช่น ระบบการระบายน้ำเสีย และโครงสร้างด้านสาธารณูปโภคอื่น ๆ ถือเป็นการสาธารณสุข(public health) แห่งแรกในโลก
เดิม :ผสมผสานของชนพื้นเมือง ไสยศาสตร์และพิธีกรรมทางศาสนา
กรีซ
พยาบาล: ผู้ดูแลเด็ก แม่นม(wet nurse) และหมอตำแย , พยาบาลเป็นเพศชาย(ผู้หญิงไม่ได้รับอนุญาตให้เกี่ยวข้องกับไสยศาสตร์)
การรักษา : การผสมผสานทั้งพิธีกรรมทางศาสนา วิธีการธรรมชาติและสิ่งเหนือธรรมชาติ
อริสโตเติล: ปราชญ์ที่มีอิทธิพลด้านการแพทย์ได้เป็นผู้วางรากฐานด้านชีววิทยาและกายวิภาคศาสตร์
ฮิปโปเครติส: บิดาแห่งการแพทย์” (Father of Medicine) ผู้วางรากฐานเรื่องกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา การวินิจฉัยโรค การพยากรณ์โรค ความเจ็บป่วยทางจิต สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา การผ่าตัด
การพยาบาลสมัยปัจจุบัน
การพยาบาลสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา
ฮาร์วี (Harvey) : “บิดาของการแพทย์สมัยใหม่”
มีการพัฒนาความรู้ทาง
ด้านกายวิภาควิทยา
ค้นพบระบบไหลเวียนโลหิตของมนุษย์
ประดิษฐ์เครื่องมือเกี่ยวกับการผ่าตัดและพัฒนาวิธีการผ่าตัด
การห้ามเลือดโดยการผูกเส้นเลือด
ยุคมืดของการพยาบาล
ผู้คนงดการบริจาคแก่วัดและโรงพยาบาลของชาวคาทอลิค
สตรีชั้นสูง ไม่สนใจในการให้การพยาบาล
ขาดแคลนพยาบาล
ต้องจ้างนักโทษ
สตรีไม่มีการศึกษา ไม่มีจิตใจอยากช่วยเหลือ
ยุคเริ่มต้นการพยาบาลสมัยใหม่
มิสฟลอเรนซ์ ไนติงเกล (Florence Nightingale)
ปรับปรุงการพยาบาล
เป็นบริการที่มีระบบ
เน้นการปฏิบัติด้วยเหตุผลและคุณธรรม
สถาปนาพยาบาลสมัยใหม่ขึ้นโดยการตั้งโรงเรียนพยาบาลไนติงเกลขึ้นในปี ค.ศ. 1860 --ต้นแบบในยุโรปและอเมริกา
ปรับปรุงการพยาบาล
เป็นบริการที่มีระบบ
เน้นการปฏิบัติด้วยเหตุผลและคุณธรรม
สถาปนาพยาบาลสมัยใหม่ขึ้นโดยการตั้งโรงเรียนพยาบาลไนติงเกลขึ้นในปี ค.ศ. 1860 --ต้นแบบในยุโรปและอเมริกา
การพยาบาลในประเทศไทย
การแต่งกายของนักเรียนพยาบาลในอดีต
ในยุคแรกนั้นการแต่งกายของนักเรียนพยาบาลศิริราชจะนุ่งโจงกระเบน และเสื้อแขนยาวประมาณศอก สีขาว รองเท้าแตะ นักเรียนปี 2 จะมีเอี๊ยมสี ต่อมาในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โรงเรียนพยาบาลจำเป็นต้องส่งพยาบาลออกไปช่วยตามพื้นที่ต่างๆ แต่ชุดพยาบาลในสมัยนั้นไม่มีสัญลักษณ์บ่งบอกว่าเป็นพยาบาล สมเด็จกรมพระยาชัยนาทนเรนทร ซึ่งดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการราชแพทยาลัย จึงได้ออกแบบเครื่องแบบพยาบาลชุดแรกเป็นชุดกระโปรงยาวประมาณคลุมเข่า สีขาวทั้งตัว มีหมวก เริ่มใช้ในปี พ.ศ.2460 จากนั้นก็มีการพัฒนารูปแบบเครื่องแบบพยาบาลศิริราชเรื่อยมา แต่ก็ยังคงไว้ซึ่งชุดและหมวกสีขาวจนปัจจุบัน
พ.ศ.2439
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงตระหนักถึงความทุกข์ทรมานและการเสียชีวิตในการคลอดของสตรี ในสมัยก่อนสำหรับผู้หญิงเรียกได้ว่าการคลอดลูกเหมือนการออกศึก ในยุคนั้นใช้หมอตำแยซึ่งไม่ค่อยมีความรู้ในการทำคลอด และพระองค์ก็ได้ทรงประสบกับพระองค์เองด้วย
ต่อมาเมื่อประเทศเปิดรับการแพทย์แผนตะวันตกมากขึ้น มีมิชชันนารีเข้ามามากแต่มักจะเป็นหมอสอนศาสนาที่มีแต่ผู้ชายทั้งหมด ซึ่งในสมัยก่อนสตรีรักนวลสงวนตัวมากโดยเฉพาะหญิงชาววัง ทำให้ไม่สามารถรักษากับหมอผู้ชายได้ พระองค์ท่านเล็งเห็นถึงความยากลำบากนี้จึงได้ก่อตั้ง “โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาล” ขึ้นมา เพื่อให้สตรีเป็นแพทย์และพยาบาลผดุงครรภ์ที่มีความรู้ในการทำคลอดสตรีเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก
แม้ในยุคแรกโรงเรียนแห่งนี้เน้นการเรียนการสอนด้านการผดุงครรภ์ แต่ผู้ที่มาเรียนก็ต้องเรียนการพยาบาลด้วย เนื่องจากต้องดูแลพยาบาลคนไข้และคนที่มาคลอด จนกระทั่งในยุคที่มีการพัฒนาสูงสุดคือยุคของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร ที่พระองค์ท่านไปศึกษาต่างประเทศ และกลับมาพัฒนาการแพทย์ให้รุ่งเรือง
พ.ศ. 2530
รศ.ดร.ทัศนา จึงได้ริเริ่มที่จะจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ประวัติการพยาบาลไทย เพื่อเป็นเกียรติแก่ อาจารย์คุณหญิงพิณพากย์พิทยาเภท อาจารย์พยาบาลไทยคนแรกที่ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนพยาบาลผดุงครรภ์ ซึ่งมีคุณูปการต่อโรงเรียนแห่งนี้และวิชาชีพการพยาบาล
พ.ศ. 2439
นุ่งโจงกระเบน และเสื้อแขนยาวประมาณศอก สีขาว รองเท้าแตะ นักเรียนปี 2 จะมีเอี๊ยมสีขาว ซึ่งได้จัดแสดงอยู่ในส่วนแรกของพิพิธภัณฑ์ และชุดเข้ารับพระราชทานประกาศนียบัตรที่นุ่งโจงกระเบน เสื้อแขนยาว คาดผ้าแถบ
จัดแสดงเครื่องแบบของพยาบาลยุคแรกในหน่วยงานต่างๆ เช่น ชุดเครื่องแบบออกอนามัย ชุดพยาบาลของวชิระพยาบาล เครื่องแบบของกองทัพ ทั้งกองทัพบท กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และกรมตำรวจ เครื่องแบบของสภากาชาดไทย เครื่องแบบของพยาบาลแมคคอร์มิค
สมัยสุโขทัย
พบการเจ็บป่วย คือ การเจ็บปวดท้อง ท้องอืด อาการไข้ ปวดศีรษะ การคลอดบุตร
มีการใช้ยาสมุนไพร
รักษาตามความเชื่อ
สมัยอยุธยา
สมัยพระนารายณ์มหาราช
มีการติดต่อกับชาวต่างชาติ ได้แก่ จีนฝรั่งเศส อินเดีย
หมอทางไสยศาสตร์
ชาวบ้านใช้วิธีทางไสยศาสตร์รักษา
รักษาทางตะวันตก ในราชวงศ์