Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 การสร้างแบรนด์ (Branding) (กระบวนการสร้างตราสินค้า (ขั้นตอนที่…
หน่วยที่ 7
การสร้างแบรนด์ (Branding)
แบรนด์ (Brand) หรือ ตราสินค้า
คือ ชื่อ เงื่อนไข รูปลักษณ์ สัญลักษณ์ เครื่องหมายต่างๆ ที่รวมกันแล้วสามารถทำให้สินค้าแตกต่างไปจากสินค้าอื่นๆ
กระบวนการสร้างตราสินค้า
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ตราสินค้า (Brand Analysis)
1.1) การวิเคราะห์กลุ่มผู้บริโภค (Consumer Analysis)
1.2) การวิเคราะห์คู่แข่ง (Competitor Analysis)
1.3) การวิเคราะห์ตราสินค้าของตนเอง (Self - Analysis)
ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย (Target Market Segmentation)
2.1) การแบ่งกลุ่มเป้าหมายย่อยทางการตลาด (Market Segmentation)
1) กลุ่มลูกค้าปัจจุบัน (Present Customers)
2) กลุ่มลูกค้าของบริษัทคู่แข่ง (Competitive Customers)
3) กลุ่มลูกค้าใหม่ (Emerging Customers)
2.2) เลือกกลุ่มเป้าหมายย่อยทางการตลาด (Target Market)
ขั้นตอนที่ 3 ปฏิบัติการสร้างตราสินค้า (Branding Implementation)
3.1) ปฏิบัติการสร้างตราสินค้าในเชิงปฏิบัติการ
การกำหนดตำแหน่งของตราสินค้า (Brand Positioning)
การกำหนดคุณค่าของตราสินค้า (Brand Value)
การกำหนดคุณค่าของตราสินค้า (Brand Value)
การกำหนดบุคลิกของตราสินค้า (Brand Personality)
1) บุคลิกที่สร้างจากสินค้า
2) บุคลิกที่ไม่ได้สร้างมาจากสินค้า
การสร้างสรรค์อัตลักษณ์ของตราสินค้า (Brand Identity Creation)
การออกแบบตราสินค้า (Brand Design)
การสร้างสรรค์อัตลักษณ์ของตราสินค้า (Brand Identity Creation)
การออกแบบตราสินค้า (Brand Design)
3.2) ปฏิบัติการสร้างตราสินค้าในเชิงจิตวิทยา ได้
การสร้างการตระหนักรู้เกี่ยวกับตราสินค้า (Brand Awareness)
การสร้างความแตกต่างในตราสินค้า (Brand Differentiation)
การสร้างคุณค่าของตราสินค้า (Brand Value)
การใช้เครื่องมือของการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ (Integrated Marketing Communication: IMC)
ขั้นตอนที่ 4 การบริหารความสัมพันธ์กับตราสินค้า (Customer-Brand Relationship)
1) พฤติกรรมการซื้อหรือใช้ที่มีความภักดีต่อตราสินค้า (Behavioral Loyalty)
2) ทัศนคติที่ต่อตราสินค้าอย่างแนบแน่น (Attitudinal Attachment)
3) ทัศนคติที่ต่อตราสินค้าอย่างแนบแน่น (Attitudinal Attachment)
4) ความผูกพันที่แน่นแฟ้นต่อกันระหว่างลูกค้าและตราสินค้า (Active Engagement)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการสร้างตราสินค้า (Brand Evaluation)
คือ การติดตามและประเมินผลการสร้างตราสินค้า (Tracking) ถือเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการสร้างตราสินค้า
กลยุทธ์การสร้างตราสินค้า
กลยุทธ์การสร้างตราสิ
กลยุทธ์ที่ 1 การใช้กระบวนการสร้างตราสินค้าเป็นกลยุทธ์โดยตัวสินค้าเอง
การประเมินสถานการณ์ปัจจุบันของตราสินค้าและกลุ่มเป้าหมายในอนาคตของตราสินค้า
การสร้างความแตกต่างให้กับตราสินค้า
การสร้างคุณค่าของตราสินค้า ให้มีมากยิ่งขึ้น
ออกแบบตราสินค้า
กลยุทธ์ที่ 2 การใช้สื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ
กลยุทธ์ที่ 3 การใช้การสร้างความสัมพันธ์ (Relationship) ระหว่างตราสินค้ากับผู้บริโภค
การทำให้ตราสินค้ามีความสัมพันธ์ฉันท์เพื่อน
การสร้างจุดติดต่อ
แนวทางการตั้งชื่อสินค้า หรือแบรนด์ (Brand)
ความยาว: ชื่อที่ยาวเกินไป จะจดจำได้ยาก
ซ้ำ หรือสั้น: สั้นเกินไปอาจจะห้วน ไม่น่าจำหรือจำยากเพราะความสับสน
ลักษณะคำและความหมาย: ข้อนี้ค่อนข้างกว้าง อาจมีข้อควรระวังเรื่องคำ
แนวคิดการตั้งชื่อสินค้า หรือ แบรนด์ (Brand) หรือ ตราสินค้า
อารมณ์ หรือ เหตุผล: การสื่อสารทางอารมณ์หรือเหตุผลต่อลูกค้าเป็นสำคัญ
ตัวสินค้า: ใช้จุดแข็ง หรือคุณสมบัติเด่น
กลุ่มลูกค้า: กลุ่มลูกค้าของสินค้าที่จะตั้งชื่อนั้น