Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) (บุคลิกภาพผิดปกติ (:<3…
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
(Psychoanalytic Theory)
ซิกมันต์ ฟรอยด์ Sigmund Freud
เชื่อว่าพฤติกรรม
มีความหมายไม่ได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ
เกิดจากแรงผลักดันของสัญชาตญาณพื้นฐานที่อยู่ใน จิตใต้สำนึก Unconscious
สัญชาตญาณการเอาชีวิตรอด
สัญชาตญาณแห่งการทำลาย/ความตาย
ประสบการณ์ในวัยทารกและวัยเด็กมีความสาคัญต่อสุขภาพจิตและการเจ็บป่วยทางจิต
ประสบการณ์ในวัยทารกและวัยเด็กมีความสาคัญต่อสุขภาพจิตและการเจ็บป่วยทางจิต
ประสบการณ์ในวัยต้นของชีวิตเหล่านี้จะฝังแน่นอยู่ในจิตใจ บุคคลอาจไม่รู้ตัว
จะมีส่วนในการสื่อให้บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมาในภายหลัง
พฤติกรรมที่ผิดปกติมีสาเหตุมาจาก Egoไม่สามารถจัดการ หรือควบคุมความต้องการจากภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอกได้
ก่อให้เกิดความ พฤติกรรม ซึ่งบุคคลจะใช้กลไกการป้องกันทางจิตที่ไม่เหมาะสมเพื่อแก้ไขปัญหา
การบาบัดรักษามุ่งเน้นที่การช่วยให้ผู้ป่วยตะหนักถึงความรู้สึกขัดแย้งที่อยู่ในจิตระดับ Unconscious
ระดับของจิตใจ Level of the mind
จิตรู้สำนึก The Conscious Level
จิตที่เจ้าตัวรู้สึก
ตระหนักในตนเองอยู่
แสดงออกภายใต้การควบคุมของ
สติปัญญา
ความรู้
การพิจารณาให้เหมาะสมกับสังคมและสิ่งแวดล้อม
จิตก่อนรู้สำนึก (The Subconscious/Precounscious Level)
อยู่ในชั้นลึกลงไป
ใช้เวลาระลึกชั่วครู่
จิตขั้นนี้จะขจัดข้อมูลที่ไม่จำเป็นออก เก็บแต่ที่มีความหมายกับตนเอง
ดำเนินการอยู่ตลอดเวลาในชีวิตประจำวัน
จิตไร้สำนึก The Unconscious Level
จิตชั้นลึก
เก็บความต้องการที่ไม่สามารถแสดงออกไปได้
เก็บประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นพัฒนาการ
โดยเฉพาะ Traumatic Experience
ฟรอยด์กล่าว
'มนุษย์เก็บกดความรู้สึกลบไว้ในจิตไร้สำนึก'
'จะแสดงออกมาตอนเจ้าตัวไม่ได้ควบคุม และ ไม่รู้สึกตัว'
โครงสร้างของจิตใจ Structure of The Mind
Id
ส่วนของจิตที่ยังไม่ถูกขัดเกลา
ติดตัวมาแต่เกิดเป็นจุดกำเนิดของบุคลิกภาพ
เป็นแรงขับของสัญชาตญาณพื้นฐาน
สนองความพอใจ
Pleasure Principle
Primary Thinking Process
คิดไม่ถูกกลั่นกรอง
คิดไม่ถูกไม่ขัดเกลา
Ego
คือ Self
ใช้เหตุผล
ดำเนินการนำ id ไปสู่จิตใต้สำนึก
ประสานความต้องการกับโลกความเป็นจริง (Reality Principle)
Ego อยู่ในระดับที่บุคคลรู้สึกตัว Counscious Level
พิจารณากลั่นกรองให้สนองความต้องการตามแรงขับของ id
ในขอบเขตเหมาะสมตามสังคม
เรียกว่า Secondary Thinking Process
Super Ego
มโนธรรม
ทำหน้าที่ของความรู้สึก ผิบชอบ ตามศีลธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และศาสนา
แบ่งเป็น 2 ส่วน
edo-ideal
เกิดจากการอบรมสั่งสอน
ถ้าทำถูกตามที่สอนจะก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ Pride
เกิดตอนปลายของ oedipal phase
conscience
เกิดจากการอบรมสั่งสอน
ถ้าทำผิดขัดกับที่ตัวเองได้รับการสอนมาจะเกิด Guilt Feeling
อายุ 5-6 ปี จะเริ่ม identified พ่อแม่ จนกลายเป็นคุณธรรมตัวเอง
เชื่อว่า Super Ego จะพัฒนาค่อนข้างสมบูรณ์ตอนอายุ 9-10 ปี
สัญชาตญาณ
สัญชาตญาณทางเพศ Sexual of Life Instinct : Libido
ผลักให้แสวงหาความพอใจ
สำคัญสุดคือ แรงขับทางเพศ
อวัยวะที่ไวต่อสัมผัส สัมผัสแล้วจะความพึงพอใจ (Erogenous Zone)
ทวารหนัก
อวัยวะเพศ
ปาก
สัญชาตญาณก้าวร้าว Aggressive of instinct : Mortido
ผลักให้แก่งแย่ง ชิงดีชิงเด่น เอาชนะ
2 สัญชาตญาณ Combined
แก่งแย่งกันเพื่อให้ได้ของรักของหวง
ความขัดแย้ง Conflict
เกิดเพราะ
ความต้องการของพัฒนาการแต่ละขั้นไม่ได้รับการตอบสนองอย่างเหมาะสม
Ego สูญเสียหน้าที่รักษาดุลระหว่าง id กับ Super Ego
กลไกทางจิต Defense Machanism
จิตสร้างขึ้นเพื่อป้องกันตัวเองจาก ความกลัว ความทุกข์ ความไม่สบายใจ
หากใช้ไม่เหมาะสมจนติดเป็นนิสัยจะเกิดปัญหาทางจิต
แบ่งเป็น 3 ประเภท
Withdrawal
Suppression
Repression
Regression
Denial
Fantasy
Conversion
Dissociation
Isolation
Compromise
Sublimation
Undoing
Rationalization
Reaction formation
Compensation
Identification
Displacement
Aggression
Projection
Introjection
พัฒนาการของบุคลิกภาพ
มี Psychodinamic Develoopment สัมพันธ์กับความพึงพอใจทางเพศ ซึ่งพัฒนามาเป็นระยะๆ
ประกอบไปด้วย 5 ขั้น :warning: โดยขั้นสำคัญหลักๆจะเป็น 3 ขั้นแรก
Phallic Stage 3-5Y
heterosexualizing interaction ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเพศตรงข้าม
Oedipus Complex เด็กชายเกลียดพ่อ :arrow_right:Castratio fear =
กลัวพ่อมาตัดอวัยวะเพศ , เด็กหญิงเกลียดแม่
เกิด Identification Sex role เพราะคิดว่าไม่อาจเอาชนะได้
หากผู้ที่เด็ก identified sex role ถ่ายทอดภาพลักษณ์แย่ๆจะก่อให้เกิดปัญหาทางเพศตามมา เช่น homosexual , impotence = ไร้สมรรถภาพ
จุดเริ่มต้นของการเกิด super ego
Latency stage 6-14Y
ไม่มี Erogenous zones เด่นออกมา
ความพึงใจทางเพศจะถูกเก็บ
เด็กเริ่มออกจากบ้านสู่สังคม
Genital stage (Adolescent-)
ลักษณะทางเพศในระยะที่สองชัดเจน
สนใจในเพศตรงข้ามากขึ้น
Anal Stage 1-3Y
:<3:
ทวาร
คือจุดพึงใจ
พอใจกับการถ่าย
ถ้าเข้มงวดการถ่ายมากไปเด็กจะเข้มงวดกับเวลาเกินไป
หรือถ้าเข้มงวดแล้วเด็กโกรธก็จะ ดื้อรั้น Stubborness หรืออาจเกิด โรคประสาทย้ำคิดย้ำทำ obsessive compulsive
Oral Stage Born-1Y
พอใจเมื่อมี somrthing กระตุ้น :<3:
เยื่อบุปาก
กิจกรรมสำคัญของระยะ
การดูด
การกัด
:arrow_left: ถ้าได้รับความเอาใจใส่จากแม่ดี
มองโลกในแงดี optimism
ไว้ใจสังคม trust
ให้เกียรติผู้อื่นและสงบเสงี่ยม passivity
:arrow_left: ถ้าแม่ให้ความอบอุ่นไม่พอ
มองโลกในแง่ร้าย pessimism
ไม่ไว้ใจ mistrust
อิจฉา envy
เจ้ากี้เจ้าการ mainpulativeness
ความเจ็บป่วยทางจิต
เกิดจาก
Ego อ่อนแอ
เลือกเป้าหมายของการแสดงออกไม่เหมาะสม
จิตใจแสวงหาความพึงพอใจของตนเองฝ่ายเดียวไม่พิจารณา ความเป็นจริงและขาดการควบคุม
กระบวนการคิด แบบปฐมภูมิขาดการพิจารณากลั่นกรอง
ปล่อยให้จิตไร้สานึกเป็นตัวดาเนินงานมากเกินไป
เสียดุล ระหว่าง id กับ super ego :arrow_right: Conflict
เกิด Defense Machanism
ใช้เหมาะสม
จิตดี
ใช้ไม่เหมาะ
พฤติกรรมผิดปกติ/เจ็บป่วยทางิต
บุคลิกภาพผิดปกติ
:arrow_down: ความต้องการในแต่ละขั้นของพัฒนากรได้รับการสนองไม่พอ
:arrow_down: เกิด Conflict
:arrow_down: ขจัด Conflict โดยพลังงานทางจิต
:arrow_down: พลังงานทางจิตลดลง
:arrow_down: พัฒนาการชะงัก/อยู่กับที่ Fixation
:<3:
แสดงบุคลิกภาพไม่เหมาะสมที่เกี่ยวกับพัฒนาการในขั้นนั้น
Oral Fixation
พูดมาก
ช่างนินทา
กินจุบจิบ
ก้าวร้าว
สูบบุหรี่
ถุยน้ำลาย
เคี้ยวหมากฝรั่ง
Anal Fixation
เจ้าระเบียบ
ตรงเวลา
Perfectionist
ขาดความยืดหยุ่น
วิตกกังวล
กลัวความผิดพลาด
โรคย้ำคิดย้ำทำ
ไร้ระเบียบในชีวิต
Phalic Fixation
แสดงพฤติกรรมทางเพศไม่เหมาะสม
สำส่อน
หย่อนสมรรถนะ
กระบวนการรักษา
ดึง Conflict ในจิตใร้สำนึกขึ้นมาที่จิตสำนึกแล้วปลดปล่อยความรู้สึกนั้นไป
การทำจิตบำบัดแบบวิเคราะห์
ค้นหา Conflict ในใจมาวิเคาระห์ แล้วหาทางแก้ใข
การระลึกอย่างเสรี Free association
การวิเคราะห์จากฝัน Dream Analysis
การพลั้งปาก
การละเมอ
การสะกดจิต Hypnosis
การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลจิตเวช
ช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจและยอมรับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม และลดการใช้กลไกทางจิตให้น้อยลง ยอมรับสภาพปัญหา และหาแนวทางแก้ไข ส่งเสริมให้ผู้ป่วยปรับตัวได้มากยิ่งขึ้นอย่างเหมาะสม
ช่วยให้ผู้ป่วยเรียนรู้ทาความเข้าใจกับ
thinking,
feeling,
values,
beliefs
เป็นผู้ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือผู้ป่วยในปัญหาทั่วๆไป และช่วยเหลือญาติ และครอบครัวให้เกิดความเข้าใจในปัญหา และการรักษาที่ผู้ป่วยได้รับ
มีหน้าที่ส่งเสริมสุขภาพจิต และป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต โดยการให้ความรู้แก่บิดา-มารดาในการอบรมเลี้ยงดูบุตรให้มีพัฒนาการที่เหมาะสม
ยอมรับความต้องการทางเพศของผู้ป่วยมีเช่นเดียวกับคนปกติทั่วไป ไม่ใช้การกระทาที่ผิดบาป(guilt) หรือน่าอาย(shame)