Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บจากการคลอด (:star:Fracture Clavicle:star: (กิจกรรมการพยาบาล…
การบาดเจ็บจากการคลอด
:star:Fracture Clavicle:star:
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมิน V/S ทุก 4 ชั่วโมง
จัดแขนและไหล่ด้านที่หักให้อยู่นิ่ง
กลัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อให้แขนงอ 90 องศา
ให้ทารก Bed rest นิ่งๆ
สังเกตอาการบวม การขยับแขน
ให้การพยาบาลตามแผนการรักษา
การรักษา
กระดูกแยก
ใส่เฝือกชั่วคราว
รัดด้วย Bandage
ใช้เวลาในการรักษา 10 วน
กระดูกไม่แยก
หายเองใน 4-6 สัปดาห์
การวินิจฉัย
ประวัติ
คลอดไหล่ยาก
คลอดท่าก้น
ทารกตัวโต หนักมากกว่า 3000 กรัม
อาการ
คลำได้ยินเสียงกรอบแกรบ
แขนทั้ง 2 ข้างเคลื่อนไหวไม่เท่ากัน
ไม่มี Moro reflex ข้างที่หัก
บวม ห้อเลือด
ทารกไม่ขยับแขนข้างที่กระดูกหัก
กล้ามเนื้อ Sternomastoid ตึง
ร้องเมื่อสัมผัสบริเวณที่หัก
:warning:Facial palsy:warning:
สาเหตุ
เส้นประสาทคู่ที่ 7 ถูกกดจากการใช้คีบดึง
คลอดยาก
ศีรษะทารกกดทับกระดูก Sacrum
อาการ
ตาลืมได้เพียงครึ่ง ปิดไม่สนิท
ริมฝีปากมุมล่างตก
รูปหน้าสองด้านจะไม่เท่ากัน
ขณะร้องหน้าเบี้ยวไปทางด้านที่ดี
การพยาบาล
ล้างตาด้วยNSS และหยดดตา
ด้วย ointment ปิดตาด้วย Eye pad
ให้ช่วยบีบบริเวณลานนม เพื่อช่วยให้น้ำนมไหล
สังเกตการดูดกลืน ป้องกันการสำลัก
:<3:Torticollis:<3:
อาการ
ไม่สามารถโน้มให้ศีรษะตรงได้
ตลำพบก้อนด้านข้างคอส่วนหน้า
คอจะเอียงลงมาด้านที่มีก้อนตึง
การพยาบาล
การยืดกล้ามเนื้อข้างคอที่หดสั้น
passive stretch
จัดศีรษะเงยหน้าเล็กน้อยจัดให้หูข้างตรงข้าม
กับกล้ามเนื้อหดสั้นมาสัมผัสที่ไหล่ข้างเดียวกัน
ยืดค้างนานประมาณนับเลข1-10 ต่อครั้ง ติดต่อกัน 15-20
ครั้งเป็น 1 รอบทำประมาณ 4-6 รอบในแต่ละวัน
active stretch
ล่อให้เด็กหันหน้ามาด้านที่มีคอเอียง
ที่มีกล้ามเนื้อหดสั้นโดยการใช้นม หรือของเล่น
การผ่าตัดเพื่อแก้ปัญหากล้ามเนื้อหดสั้น
ยืดกล้ามเนื้อหดสั้นไม่ได้ผลหลังอายุ 1 ปี
อายุที่เหมาะสมที่สุดคือ 1-4 ปี
ตัดปลายยึดเกาะของกล้ามเนื้อด้านข้างคอ ทั้ง 2 ปลาย
ประคบด้วยน้ำอุ่นนวดวนครั้งละ 10 นาที
สาเหตุ
มีก้อนตึงบริเวณกล้ามเนื้อข้างคอ
คลอดยาก
เป็นการบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อ
Sternociedomastoid