Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาตน (กระบวนการในการพัฒนาตน…
บทที่ 4
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาตน
แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาตน
บุคคลที่จะพัฒนาตนเองได้ จะต้องเป็นผู้มุ่งมั่นที่จะเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงตัวเอง โดยมี แนวคิดที่สำคัญดังนี้
1) มนุษย์ทุกคนมีศักยภาพที่มีคุณค่าอยู่ในตัวเอง
2) ไม่มีบุคคล ใดที่มีความสมบูรณ์พร้อมทุกด้าน
3) แม้บุคคลจะเป็นผู้ที่รู้จักตนเองได้ดีที่สุด
4. ไม่มีความคิดติดยึด
5. การปรับปรุงและพัฒนาตนเองสามารถดำเนินการได้ทุกเวลาและอย่างต่อเนื่อง
แนวคิดและทฤษฎีในการพัฒนาตน
แนวคิดของ สตีเฟ่น อาร์ โควี่ ได้นำแนวคิดมาจาก หนังสือ “อุปนิสัย 7 ประการสำหรับผู้มีประสิทธิภาพ"
(The Seven Habits of Highly Effective People)
หนังสือของสตีเฟ่น อาร์ โควี่ (Stephen R Covey)
4) ชอบคิดแบบชนะ-ชนะ (Think Win-Win)
5) การพยายามเข้าใจคนอื่นก่อน
(Seek first to understand then to be understood)
3.ทำสิ่งสำคัญกว่าก่อน (Put first things first)
6) ชอบประสานงานเพื่อเพิ่มพลัง (Synergize)
2) เริ่มต้นโดยมีเป้าหมายชัดเจน (Begin with the end in mind)
7) ฝึกฝนตนเองให้พร้อมเสมอ (Sharpen the saw)
1) เป็นผู้กระทำ (Be Proactive)
แนวคิดของ เฮอร์ซเบอร์ก (Herzberg’s two factors theory)
ทฤษฎีสอง องค์ประกอบของ เฮอร์ซเบอร์ก กล่าวถึง ความต้องการของมนุษย์ที่ขึ้นอยู่กับความแตกต่างของความต้องการ 2 ด้าน คือ พื้นฐานทางชีววิทยา และความต้องการทางด้านจิตใจ เฮอร์ซเบอร์กกล่าวว่า มนุษย์จะเกิดความรู้สึกที่ดี ไม่ดีความพึงพอใจหรือไม่ พึงพอใจมาจากสิ่งต่อไปนี้
1) ปัจจัยแรงจูงใจ 2) ปัจจัยค้ำจุน
แนวคิดอีอาร์จีของอัลเดอร์เฟอร์ (Alderfer’s ERG theory)
ทฤษฎีความต้องการนี้ได้ประยุกต์มาจากแนวคิด ทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์จากลำดับขั้นความต้องการ 5 ประการให้มีความต้องการเพียง 3 ประการ ดังนี้
ความต้องการในด้านความสัมพันธ์ (Related needs)
ความต้องการความก้าวหน้า (Growth needs)
ความต้องการเพื่อความอยู่รอดของชีวิต (Existence needs)
แนวคิด แมคคลีแลนด์ (McCleland’s theory)
ทฤษฎีความต้องการเป็นทฤษฎีเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมรวมกันกับความต้องการของแต่ละบุคคลทำให้เป็นแรงขับขั้นพื้นฐานของมนุษย์ 3 ประการ ดังนี้
2) ความต้องการมีพลังความสามารถ (Needs for Power)
3) ความต้องการที่จะผูกพันกับผู้อื่น (Needs for Affiliation)
1) ความต้องการเพื่อประสบผลสำเร็จ (Needs for Achievenment)
แนวคิดจิตวิทยาเชิงพุทธ (Buddhist Psychology)
มุมมองธรรมชาติของมนุษย์ของจิตวิทยาเชิงพุทธ พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต, 2532) ได้กล่าวถึงความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย์ตามแนวพุทธศาสตร์ไว้ดังนี้
3) มนุษย์สามารถแก้ปัญหาได้โดยการพัฒนาสิ่ง ที่เรียกว่า ปัญญา
4) มนุษย์มีศักยภาพที่จะฝึกฝนพัฒนาตนเองได้อย่างสมบูรณ์เต็มศักยภาพ
2) มนุษย์ทุกคนมีความอยาก
5. มนุษย์จะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับการกระทำของตนเอง
1) มนุษย์เกิดมา พร้อมกับความไม่รู้
หลักการพัฒนาตนด้วยจิตวิทยาเชิงพุทธกล่าวถึงพัฒนาตน
เกิดจากการ พัฒนาชีวิตมนุษย์ในลักษณะ
องค์รวมประสานกัน 4 ด้าน สรุปได้ดังนี้
1) พัฒนากาย
2) พัฒนาศีล
3) พัฒนาจิต
4) พัฒนาปัญญา
โปรแกรมการพัฒนาตนตามแนวทางจิตวิทยาเชิงพุทธ
มีผู้ศึกษาการพัฒนาตน ตามแนวทางจิตวิทยาเชิงพุทธไว้หลายท่าน ผู้เขียนจึงขอสรุปเป็นแนว ทางการพัฒนาตนตามแนวทางจิตวิทยาเชิงพุทธเป็น 3 ด้านใหญ่ ๆ คือ วิธีการพัฒนาความคิด วิธีการพัฒนา
กระบวนการในการพัฒนาตน
4) รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน
5) เลือกเทคนิควิธีและวางแผน
3) กำหนดปัญหาและพฤติกรรมเป้าหมาย
6) ทดลองปรับปรุงพัฒนา
2) วิเคราะห์ จุดเด่น –จุดบกพร่อง
7) ประเมินผลและขยายผลการพัฒนา
1) สำรวจพิจารณาตนเอง
ประโยชน์ในการพัฒนาตน
เป็นประโยชน์ต่อบุคคลอื่น
เป็นประโยชน์สังคมโดยรวม
เป็นประโยชน์ต่อตนเอง