Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคและกระบวนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม สำหรับครู (การสร้างเสริมและกำกับคุ…
เทคนิคและกระบวนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม สำหรับครู
หลักการ ขั้นตอนของการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
แนวคิด หลักการนักปราชญ์โบราณ
Socrates
ความกล้าหาญ
การควบคุมตนเอง
การปฏิบัติหน้าที่ทางศาสนา
ยุติธรรม
ปัญญา / ความรู้
Plato
ปัญญา / ความรู้
การรู้จักประมาณควบคุมตนเอง
กล้าหาญ
ยุติธรรม
Aristotle
คุณธรรมทางสติปัญญา(ทฤษฎี+ปฏิบัติ)
คุณธรรมทางศีลธรรมเน้นมิตรภาพ,รู้จักประมาณ,กล้าหาญ,ยุติธรรม
บันได 6 ขั้นของการพัฒนาคุณธรรม
ปฏิบัติเพราะความกลัว ไม่อยากเดือดร้อน
ปฏิบัติเพราะอยากได้รางวัล
ปฏิบัติเพราะเอาใจคนบางคน
ปฏิบัติเพราะต้องปฏิบัติตามกฎ
ปฏิบัติเพราะต้องการให้ตนดูดี
ปฏิบัติตามหลักการหรืออุดมการณ์
การสร้างเสริมและกำกับคุณธรรมจริยธรรมในระบบราชการ
หลักการพัฒนาจริยธรรมในระบบราชการ
ทำควบคู่กันทั้งวินัย จรรยาบรรณและคุณธรรม
การสร้างเสริมดีกว่าการดำเนินการทางวินัย
นโยบายวินัยข้าราชการ 3 กระบวนการ
ให้ความรู้
สร้างจิตสำนึก
ถือปฏิบัติให้เป็นวิถีชีวิต
ส่วนราชการต้องมียทธศาสตร์ที่ชัดเจน
การฝึกอบรมให้มีจริยธรรมจรรยาบรรณ
ใช้วิธีการที่หลากหลายไม่บรรยายอย่างเดียว
รูปแบบสาระตรงกลุ่มเป้าหมาย
สอดคล้องกับวัฒนธรรมและภารกิจองค์กร
กำหนดเป็นนโยบายองค์กร รัดกุม จำง่าย ไม่เปลี่ยนบ่อย
ทำระบบข้อมูลการจัดการความรู้ขึ้นในองค์กร
ค้นหาและยกย่องบุคคลต้นแบบ และกรณีความเสี่ยง
ที่มาของคนทำผิดวินัย
ใม่เชื่กฎแห่งกรรม ทำดีได้ดี
สำคัญผิดว่าตนเองมีอำนาจ ทำได้ทุกอย่าง
ต้องการลาภยศ โดยไม่คำนึงถึงที่มา
คดในข้องอในกระดูก จิตใจใฝ่ต่ำ
ยอมถูกอำนาจชั่วครอบงำ
ทำเพราะกลัวเสียผลประโยชน์
การพัฒนาให้มีคุณจริยธรรมจรรยาบรรณย่างยั่งยืน
ต้องให้รู้ดี-ชั่ว
สร้างความตระหนักรู้
ดูแบบอย่างที่ดี เพื่อรู้จักและสร้างคุณค่า
มีข้อตกลงในกลุ่มเดียวกัน
ชื่นชมยกย่องว่าทำดี
ให้โอกาสแสดงผลงาน
ได้รับเกียนติหรือรางวัลนเป็นอุดมการณ์
ธรรมชาติของจริยธรรม จรรยาบรรณเพื่อการพัฒนา
มีระดับของความเข้มข้น
มีมูลเหตุ
มองได้หลายมิติ
สังคม เศรษฐกิจ การเมือง
เป็นเป้าหมาย เครื่องมือ
จากกลุ่มอาชีพ
จากสหวิชาการ : ศาสตร์-ศิลป์
ระบบคุณธรรมที่ใช้บริหารงานราชการ
หลักการสรรหาและคัดเลือก
ระบบคุณธรรม
หลักความเสมอภาค
หลักความสามารถ
หลักความมั่นคง
หลักความเป็นกลางทางการเมือง
จริยธรรมวิชาชีพและการฝ่าฝืน
ความสำคัญของจริยธรรมในการประกอบอาชีพ
ช่วยให้ใช้วิชาชีพถูกต้องเหมาะสม เป็นประโยชน์
ส่งเสริมให้มีความสำนึกในหน้าที่และความรับผิดชอบ
ควบคุมให้ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีคุณภาพน่าเชื่อถือ ไว้วางใจ
ป้องกันการเอารัดเอาเปรีบยผู้บริโภค ไม่เห็นแก่ตัว
วิชาชีพมีความซื่อสัตย์ ยุติธรรม และเอื้อเฟื้อต่อกัน
เป้หมายของการมีจริยธรรมวิชาชีพ
ปกป้องประโยชน์สาธารณชน หรือผู้อื่นยิ่งกว่าตน
รักษาส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง ฐานะทางสังคมของวิชาชีพ
ป็นหลักให้ผู้กอบวิชาชีพปฏิบัติตามตลอดเวลาที่ประกอบวิชาชีพนั้น
จริยธรรมที่ดีมาก
บรรทัดฐานของสังคม
กระบวนการหล่อหลอมทางสังคม
*
ต้องคำนึงถึงหลัก ยุติธรรม คุณภาพ ความต้องการ สิทธิทางคุณธรรม
สถาบันทางสังคม
วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม จริยธรรมในวงการวิชาชีพ
ประสิทธิภาพของจรรยาบรรณวิชาชีพ
ช่วยเหลือเกื้อกูลและป้องกันคนวิชาชีพและมหาชน
มีกฎข้อบังคับที่เจาะจงลงไป
มีคณะกรรมการควบคุมจรรยาบรรณ
มีการลงโทษผู้ฝ่าฝืนจรรยาบรรณ
การป้องกันและพัฒนาวิชาจริยธรรมวิชาชีพให้ใช้ไปในทางที่ดี
ปัญหาการฝ่าฝืนจริยธรรมวิชาชีพโดยองค์กรวิชาชีพ
ขาดความชัดเจนในเรื่องเกี่ยวกับมาตรฐานการตรวจสอบที่ตรงกัน
ขาดมาตรฐานข้อมูลที่สมบูรณ์หรือมีน้อย
ผู้มีหน้าที่กำกับดูแลต้องมีกระบวนการที่ชัดเจน
กฎหมายจริยธรรมวิชาชีพเข้าใจยาก
ขาดการจัดอบรมประชาชนให้มีความรู้ความเข้าใจ
เนื้อหากฎหมายจริยธรรมมีมากเกินไป ไม่เหมาะกับสภาพปัจจุบัน
ขาดการจัดลำดับความร้ายแรงในการประเมินจริยธรรม
ต้องบันทึกทะเบียนการตรวจสอบจริยธรรมอย่างจริงจัง
ต้องรับฟังความคิดเห็นสมาชิกในองค์กรในการจัดทำมาตรฐานจริยธรรม
หลักสำคัญในการสอนหรือการพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพ
ต้องสอนอย่างละเอียด ต้องอธิบายและยกตัวอย่าง
ต้องบอกให้รู้ว่าอะไรคือมืออาชีพ
ความเหมือนและความต่างของจริยธรรมวิชาชีพกับจรรยาบรรณวิชาชีพ
จริยธรรมเป็นนามธรรมอยู่ในจิตสำนึก
จรรยาบรรณเป็นรูปธรรมเป็นลายลักษณ์อักษร
จริยธรรมวิชาชีพคือข้อประพฤติปฏิบัติ กฎ ศีลธรรม ของคนในวิชาชีพ .. - จรรยาบรรณวิชาชีพคือข้อกำหนดทางจริยธรรมขององค์กร
ปัญหาการฝ่าฝืนจริยธรรมวิชาชีพ
ขาดการปลูกฝัง ค่านิยม ความรู้ เรื่องจริยธรรมวิชาชีพ
ปัญหาการบริหารงานบุคคลเป็นต้นเหตุของการฝ่าฝืน
ให้ความสำคัญกับ วัตถุ เงิน อำนาจ มากกว่าจริยธรรมวิชาชีพ
การแต่งตั้งตำแหน่งราชการควรตรวจสอบประวัติและพฤติกรรมย้อนหลัง
จรรยาบรรณวิชาชีพ (สรุป)
ข้าราชการทุกคน ถูกบังคับให้ใช้ประมวลจริยธรรม
วิชาชีพครู แพทย์ พยาบาล เป็นต้น กำหนดให้ใช้จรรยาบรรณในกฎหมายเฉพาะ
จรรยาบรรณกับประมวลจริยธรรมใกล้เคียงกันมาก
ตำรวจใช้ประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพควบกัน