Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดพื้นฐาน ของพฤติกรรมมนุษย์ (วิธีการรวบรวมข้อมูล (1.การทดลอง ข้อดี :…
แนวคิดพื้นฐาน
ของพฤติกรรมมนุษย์
พฤติกรรม
ภายนอก
สามารถสังเกตุหรือ
สัมผัสได้โดยตรง
1.พฤติกรรมโมลาร์
พฤติกรรมที่มีหน่วยใหญ่ สามรถสังเกตุเห็นโดยไม่ต้องใช้เครื่องมือ
2.พฤติกรรมโมเลกุลาร์
พฤติกรรมที่มีหน่วยใหญ่ ใช้เครื่องมือหรือวิธีการทางวิทยาศาสตร์วิเคราะห์ เช่น การวัดชีพจร
ภายใน
การกระทำที่รับรู้ไม่ได้ด้วย
การสัมผัสไม่สามารถสงเกตุได้โดยตรง
1.เกิดขึ้นโดยรู้สึกตัว
ไม่แสดงอาการผู้อื่นก็ไม่ทราบ
2.เกิดขึ้นโดยไม่รู้สึกตัว
เช่น เจตคติ แรงจูงใจ ความวิตกกังวล
ประเภทของพฤติกรรมมนุษย์
1.พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ
มนุษย์ทำได้จากสัญชาตญาณ ไม่ต้องผ่าน
ประสบการณ์หรือฝึกฝน
2.พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้
พฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือปรับแต่ง
จากประสบการณ์หรือการฝึกฝน
องค์ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
ความรู้สึก
การสัมผัส คือ ความรู้สึกต่อปฏิกิริยาของร่างกายที่เกิดจากการทำงานของอวัยวะรับสัมผัสทั้งภายในและภายนอก
อารมณ์
คือ ความรู้สึกพอใจหรือไม่พอใจ
ที่เกิดความคิดของบุคคลต่อสภาวะ
เชิงบวก
คือความรู้สึกพอใจที่นำไปสู่การกระทำที่สร้างสรรค์
เชิงลบ
ความรู้สึกไม่พอใจนำไปสู่การกระทำที่ไม่เหมาะสม
อารมณ์เชิงลบที่เหมาะสม : อารมณ์ที่ไม่น่าพอใจ
แต่เป็นประโยชน์ที่ทำให้เราตื่นตัว
อารมณ์เชิงลบที่ไม่เหมาะสม : เป็นอารมณ์ที่ไม่น่าพอใจแล้วยังก่อให้เกิดโทษด้วย
การกระทำ
เชิงบวก
คือการกระทำที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
เชิงลบ
คือ การกระทำที่ไม่เป็นประโยชน์ ต้องหยุดยั้ง เลิกและปรับปรุงการกระทำนั้น
ความคิด
เชิงบวก
คือ ความคิดที่ก่อให้เกิดประโยชน์
เพิ่มกำลังใจ และแรงจูงใจให้ตนเอง
เชิงลบ
คือ ความคิดที่ทำให้แรงจูงใจลดลง เป็นต้นเหตุให้เกิดเรื่องเชิงลบอื่นๆ
เป้าหมายของการศึกษาพฤติกรรม
1.เพื่อการอธิบาย
2.เพื่อการทำนาย
4.เพื่อความเข้าใจ
3.เพื่อการควบคุม
ความสำคัญของ
การศึกษาพฤติกรรม
ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมช่วยให้
ผู้ศึกษาเกิดความเข้าใจตนเอง
ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมช่วยให้ผู้ศึกษาเกิดความเข้าใจผู้อื่น
ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรม
ช่วยบรรเทาปัญหาสังคม
ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมช่วย
เสริมสร้างพัฒนาคุณภาพชีวิต
วิธีการรวบรวมข้อมูล
1.การทดลอง
ข้อดี : ควบคุมตัวแปรได้
จุดอ่อน : ยากที่จะนำมาใช้กับ
สภาพความเป็นจริง
2.การสำรวจ
ข้อดี : ได้ข้อมูลจำนวนมาก
ที่เกี่ยวข้องกับที่ต้องการ
จุดอ่อน: ได้ข้อมูลที่มีลักษณะกว้าง
ไม่ลึกซึ้ง สิ้นเปลืองเงินและเวลา
3.วิธีการตรวจสอบจิตตนเอง
ข้อดี :ข้อมูลที่ได้รับเป็นความจริง
จุดอ่อน : หากผู้รายงานจำเรื่องราวไม่ได้
ทำให้การตีความคลาดเคลื่อนไป
4.วิธีทางคลินิก
ข้อดี : ให้รายละเอียดข้อมูลอย่างลึกซึ้ง
จุดอ่อน : มีข้อจำกัดในการนำไปใช้อ้างอิง
5.การสังเกตอย่างมีระบบ
ข้อดี : สามารถเก็บข้อมูลได้จากการสังเกต
แม้ว่าผู้ถูกศึกษาเต็มใจหรือไม่
จุดอ่อน : อาจไม่สามารถเก็บข้อมูลได้
เพราะข้อมูลที่ต้องการไม่ได้เกิดขึ้นเวลาที่สังเกต
6.การใช้แบบสอบถาม
ข้อดี : สะดวก ประหยัด ใช้ข้อมูลกว้างขวาง
จุดอ่อน : ใช้ไม่ได้ต่อผู้เขียนหรือออ่าน
ไม่คล่อง
7.การสัมภาษณ์
ข้อดี : ยืดหยุ่น ปรับได้ตามสถานการณ์
หรือความแตกต่างของบุคคล
จุดอ่อน : สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายและเวลา
8.การทดสอบทางจิตวิทยา
ข้อดี : รวดเร็ว ข้อมูลมีความแม่นตรง
จุดอ่อน : แบบทสอบที่ดี มีความตรง
และความเชื่อมั้นสูงเป็นที่ยอมรับได้ยาก