Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ (ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ทาง…
บทที่ 2
ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์
ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ทางชีววิทยา
(Biological Factors)
พันธุกรรม (Heredity)
ระบบที่ประกอบด้วย สมอง ไขสันหลัง เส้นประสาททั่วร่างกาย และเซลล์ประสาท ซึ่งจะทำหน้าที่ร่วมกันในการควบคุมการทำงานและการรับความรู้สึกของอวัยวะทุกส่วน รวมถึงความรู้สึก นึกคิด อารมณ์และความทรงจำต่าง ๆ
ระบบประสาท (Nervous System)
การถ่ายทอดลักษณะของบรรพบุรุษ หรือต้นตระกูล มายังรุ่นลูกหลานด้วยกระบวนการสืบพันธุ์ การถ่ายทอดนั้นกำหนดโดยสารพันธุกรรมที่เรียกว่า ยีนส์ (Genes) ซึ่งเรียงตัวกันอยู่ในโครโมโซม (Chromosome) ภายในนิวเคลียส (Nucleus) ของเซลล์
สมอง
เป็นส่วนของอวัยวะที่สำคัญที่สุดในร่างกายของคนเรา ซึ่งจะทำหน้าที่ ควบคุมการกระทำของเราทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการเคลื่อนไหว ความรู้สึกนึกคิด หรือความจำ
ไขสันหลัง (Spinal Cord)
คืออวัยวะที่มีลักษณะเป็นท่อยาวผอม ซึ่งมีเนื้อเยื่อประสาทเป็น ส่วนประกอบสำคัญอันได้แก่ เซลล์ประสาท (neuron) และเซลล์เกลีย (glia) หรือเซลล์ที่ช่วยค้าจุน เซลล์ประสาท
เส้นประสาท (Nerve Fiber)
เป็นกลุ่มของเส้นใยบาง ๆ จำนวนมากซึ่งเกิดจากเซลล์ประสาทหลายตัว ร่วมกัน เข้าเป็นมัด เส้นประสาทอาจเป็นมัดของแอกซอน หรือมัดของเดนไดรท์หรือทั้งสองชนิดรวมกันก็ได้ เส้นประสาทในร่างกายสามารถจำแนก
เซลล์ประสาท (Neuron)
เซลล์ประสาทเป็นส่วนที่เล็กที่สุดของระบบประสาท เซลล์ประสาทหนึ่งเซลล์มี
ส่วนประกอบที่สำคัญ
ระบบกล้ามเนื้อ
ระบบกล้ามเนื้อเป็นระบบที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย โดยจะอาศัยคุณสมบัติการหดตัวของใยกล้ามเนื้อ ทำให้กระดูกและข้อต่อเกิดการเคลื่อนไหว และ มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
ระบบต่อม
ปัจจัยพื้นฐานพฤติกรรมมนุษย์ทางจิตวิทยา
แรงจูงใจ
ทฤษฎีสัญชาติญาณ (Instinct Theory)
สัญชาตญาณ หมายถึง พฤติกรรมของมนุษย์ที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด ซึ่งมีลักษณะเหมือน ๆ กันใน มนุษย์ทุกผู้ทุกนาม เกิดขึ้นเองเป็นเอง โดยไม่มีการฝึกฝนหรือเรียนรู้
ทฤษฎีแรงขับ (Drive Reduction Theory)
แรงขับ (Drive) เป็นกลไกภายในที่รักษาระบบทางสรีระ ให้คงสภาพสมดุลในเรื่องต่าง ๆ
ทฤษฎีการตื่นตัว (Arousal Theory)
การตื่นตัว คือ ระดับการทำงานที่เกิดขึ้นในหลาย ๆ ระบบของร่างกาย สามารถวัดระดับการทำงานนี้ได้จากคลื่นสมอง การเต้นของหัวใจ การเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือจากสภาวะ ของอวัยวะต่าง
การเรียนรู้ (Learning)
การเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ทางสังคมวิทยา
ลักษณะทางสังคม
สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่บุคคลประสบอยู่จากอดีตสู่ ปัจจุบันซึ่งอาจบีบคั้น ยับยั้งหรือเอื้ออำนวยให้บุคคลแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง
ทฤษฎีมนุษย์กับสังคมของโธมัส ฮอบส์
ทฤษฎีมุ่งสัมพันธ์ (Theories of Affiliation)
วัฒนธรรมกับพฤติกรรม
ปัจจัยพื้นฐานพฤติกรรมมนุษย์ทางจริยธรรม
ปัจจัยทางจริยธรรมและการเรียนรู้
ธรรมชาติพื้นฐานทางจริยธรรม
ความหมายของจริยธรรม